Page 58 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 58

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                          (1) ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการบริการให้มีความพิเศษ มีเอกลักษณ์ที่แตกต่าง โดยมุ่งเน้นการ
               จัดหาและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รองรับการจัดบริการระดับ Premium มีเอกลักษณ์เฉพาะด้วยโมเดลบริการ

               SMICS (Speed, Modenize, Convenience, Specialist, International)
                          (2) การพัฒนาระบบบริการเคลื่อนที่และการออกแบบชุดบริการสุขภาพรองรับความต้องการของ
               ผู้รับบริการรายบุคคลในกลุ่มผู้มีก าลังซื้อ
                          (3) สร้างระบบ Trat  Hospital  Membership  ในกลุ่มโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ และตรวจสุขภาพ

               ส าหรับผู้มีก าลังซื้อ
                          (4) สร้างระบบบริการเชิงรุกเพื่อการอ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการจากประเทศเพื่อนบ้าน
               ในรูปแบบการจัดบริการโรงพยาบาลส่วนหน้า (Trat  Hospital  Frontline)  พร้อมทั้งบูรณาการกระบวนการ
               ทางการแพทย์ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพอ าเภอเมือง คลองใหญ่ และบ่อไร่ ในการร่วมมือการให้บริการเพื่อลด

               ระยะเวลาการรอคอยและความแออัดในโรงพยาบาล
                          (5) จัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังแบบครบวงจร ที่มีระบบการบริการที่ทันสมัย
               การดูแลผู้ป่วยในระดับรายบุคคลด้วยบุคลากรทางการแพทย์ การมีโปรแกรมเพื่อการฟื้นฟูเฉพาะกับผู้ป่วยแต่
               ละราย

                        (4) สร้ำงสรรค์นวัตกรรมทำงกำรแพทย์ในกำรบริกำรที่เกิดประโยชน์ต่อกำรจัดบริกำรประชำชน
               อย่ำงเป นรูปธรรม
                          มาตรการและแนวทางปฏิบัติ

                          (1) สร้างระบบการช่วยเหลือผู้ป่วยภาวะวิกฤตในการบริการประชาชนบนพื้นที่ฝั่งและการ
               จัดบริการสาธารณสุขทางทะเลที่มีมาตรฐาน โดดเด่นและทันสมัย (Modern  ER  and  Telemedicine)  เพื่อ
               การดูแลผู้ป่วยวิกฤติที่ประสบภาวะฉุกเฉินทางทะเลระหว่างโรงพยาบาลตราดและเครือข่าย
                          (2) สร้างระบบการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อระหว่างโรงพยาบาลกับคลินิกเอกชน
               และสร้างเครือข่ายการจ่ายยาระหว่างโรงพยาบาลกับร้านขายยา

                          (3) สร้างระบบบริการทางการแพทย์ของศูนย์ความเป็นเลิศด้วยวิทยาการทางการแพทย์ที่
               ผสมผสานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการพัฒนาระบบการแพทย์ของโรงพยาบาล (Trat Medical System ๔.๐)
                            - การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้านผ่าน Digital Home Ward

                            - การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีภาวะ
               พึ่งพิงและผู้พิการ
                            -  การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพวัยท างานโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและโซเซียลมีเดียใน
               รูปแบบแอปพลิเคชั่น

                        5) พัฒนำทุกกระบวนกำรบริกำรให้มีมำตรฐำน ยกระดับคุณภำพโรงพยำบำลจำกมำตรฐำน HA
               สู่ AHA
                          มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
                           (1)  ประเมินศักยภาพงานคุณภาพภายในองค์กร และให้ความรู้เรื่องกระบวนการคุณภาพแก่

               บุคลากรทุกระดับ พร้อมศึกษามาตรฐาน นวัตกรรม แนวปฏิบัติที่ดี และน าข้อเสนอแนะจากผู้ตรวจประเมิน
               ภายนอกด้านคุณภาพ ท า Gap Analysis Development Planning ในทุกเกณฑ์มาตรฐานของ AHA
                           (2)  สร้าง Model  ระบบงานคุณภาพของโรงพยาบาลและโมเดลคุณภาพของทุกหน่วยงาน
               ในโรงพยาบาลที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ โดยเน้นการบูรณาการภารกิจ เกณฑ์คุณภาพ นวัตกรรมคุณภาพ

               อัตลักษณ์คุณภาพการบริการ





                                                                                                    หน้า 53
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63