Page 57 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 57
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
(2) ใช้กลไกของเขตสุขภาพ โรงพยาบาลในสังกัดกรมการแพทย์ สถานบริการสุขภาพ
ระดับประเทศและนานาชาติ ในการน าบุคลากรทางการแพทย์ที่เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เทคโนโลยีและเครื่องมือ
ทางการแพทย์ มาร่วมจัดบริการแก่ประชาชน
(3) ใช้กลไกประชารัฐเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนใน
การมีส่วนร่วมพัฒนาขีดความสามารถทางการแพทย์ของโรงพยาบาล รองรับความต้องการดูแลสุขภาพในพื้นที่
โดยเฉพาะผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ
(4) สร้างระบบเครือข่ายกับองค์กรเอกชนทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข ให้มีส่วนร่วมในการ
จัดบริการสุขภาพทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน เพื่อรองรับการเติบโตของจังหวัด
2) ยกระดับบริกำรทำงกำรแพทย์ด้ำนอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรคเรื้อรัง ผู้สูงอำยุ รองรับกำรเติบโตของ
เมืองและกำรพัฒนำตำมนโยบำยของกระทรวงสำธำรณสุข
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
(1) จัดหาเทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ รองรับการพัฒนาระบบบริการทาง
การแพทย์
(2) สร้างระบบการส่งต่อ (Refer Out) ให้มีเครือข่ายการรองรับมากขึ้นทั้งในและนอกเขต
บริการสุขภาพ รวมถึงหน่วยบริการเอกชน เป็นการปฏิรูประบบการส่งต่อในเขตบริการโดยไม่มีขีดจ ากัดผ่าน
การจัดท าข้อตกลงความร่วมมือ (Contact Service Integration) ทั้งในการส่งต่อภายในจังหวัด ภายในเขต
และการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างประเทศ
(3) สร้างระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินครอบคลุมทางบก ทางน้ า ทางอากาศ เพื่อรองรับ
การเติบโตสู่เมืองพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ การค้าชายแดน โดยเน้นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและ
เอกชน เช่น การร่วมมือกับผู้ประกอบการท่องเที่ยว ทหารเรือ สายการบิน มูลนิธิ เป็นต้น
(4) เสริมสร้างระบบบริการทางการแพทย์รองรับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ โดย
- เสริมสร้างความพร้อมในการจัดบริการทางการแพทย์รองรับการเพิ่มขึ้นของ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ มีความโดดเด่นด้านการคัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยด้วย
ประสิทธิภาพของทีมบูรณาการ น าเข้าสู่กระบวนการป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และจัดตั้งหน่วยบริการฟื้นฟูสุขภาพ
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบครบวงจรที่ทันสมัย
- เพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการทางการแพทย์เพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุที่มี
ก าลังซื้อในกลุ่มเป้าหมายจากประเทศเพื่อนบ้านและนักท่องเที่ยว
- พัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อการดูแล รักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุในรูปแบบ
Digital Home Ward
(5) พัฒนาการแพทย์ฉุกเฉินรองรับการสาธารณสุขทางทะเล โดยการพัฒนาความรู้
ความสามารถหรือทักษะแก่ประชาชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่วิกฤตต่ออุบัติฉุกเฉินให้มี
ความสามารถในการช่วยชีวิตพื้นฐาน และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติ (AED) เพื่อให้สามารถช่วยผู้
ประสบเหตุขั้นพื้นฐานได้ ส่งเสริมให้โรงแรม รีสอร์ท และสถานประกอบการจัดหาเครื่องมือเพื่อรองรับความ
จ าเป็นฉุกเฉิน
3) สร้ำงระบบบริกำรทำงกำรแพทย์ในระดับ premium อย่ำงครบวงจร รองรับกลุ่มผู้มีก ำลังซื้อ
นักท่องเที่ยว ผู้ใช้บริกำรจำกประเทศเพื่อนบ้ำน และกำรจัดบริกำรทำงกำรแพทย์ที่เชื่อมโยงกับกำร
ท่องเที่ยวเชิงสุขภำพ
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
หน้า 52