Page 39 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 39

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                        W7  ความไม่พร้อมในการจัดบริการรองรับความต้องการและปัญหาทางสุขภาพของผู้สูงอายุใน
               พื้นที่ ซึ่งมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น มีความรุนแรงของปัญหาโรคที่เพิ่มขึ้น ซับซ้อนขึ้น โดยเฉพาะการดูแลผู้สูงอายุ

               ในระยะยาวแบบเข้าถึงอย่างทั่วถึง
                        W8  ประสิทธิภาพจากการจัดบริการเพิ่มเติมหรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างสรรค์เพื่อการบริการ
               ทางสุขภาพที่น าไปสู่การสร้างรายได้ให้โรงพยาบาลยังมีน้อย รายได้หลักของโรงพยาบาลเกิดจากระบบ
               หลักประกันสุขภาพเป็นส าคัญ ซึ่งไม่สอดคล้องกับแนวโน้มการเติบโตของรายจ่ายที่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง

                        W9  หน่วยบริการระดับพื้นที่ (รพ.สต.) ยังขาดประสิทธิภาพในการพัฒนาการบริหารจัดการภายใน
               การบูรณาการร่วมกับท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายยังท าได้ไม่เข้มแข็ง และการจัดบริการที่เข้าถึงปัญหาสุขภาพของ
               ประชาชนจนสามารถสร้างความเชื่อมั่นต่อขีดความสามารถในการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค
               รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพตามเกณฑ์ยังต้องได้รับการพัฒนา

                        W10 การขาดระบบงานที่ดีและกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความผาสุกในการปฏิบัติ
               ราชการ การลดภาวะเครียดจากการบริการ การสร้างความจูงใจและความภูมิใจในการปฏิบัติหน้าที่ที่
               สอดคล้องกับสถานการณ์ทางการบริการและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์กร


                        โอกำสจำกภำยนอกที่ส่งเสริมสนับสนุนโรงพยำบำล (Opportunity)
                        O1  เป็นเมืองท่องเที่ยว เศรษฐกิจดี ประชาชนมีรายได้ มีการท าประกันชีวิตเอกชน มีแรงงาน
               ต่างชาติ ร่วมกับมี รพ.เอกชน ท าให้เข้าถึงบริการได้มากขึ้น

                        O2  นโยบายการเมือง ผู้น าท้องถิ่นและชุมชนเข้มแข็ง การท างานกับภาคีเครือข่ายคล่องตัว
                        O3  นโยบาย Service Plan มุ่งตอบสนองปัญหาสุขภาพประชาชน
                        O4  การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งในระดับจังหวัด ระดับอ าเภอ และท้องถิ่น ต่อการส่งเสริม
               สุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และการมีส่วนร่วมในการจัดบริการสุขภาพ เพื่อ
               ดูแลปัญหาของประชาชนในพื้นที่ (ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน การฟื้นฟูผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส)

                        O5  ความก้าวหน้าของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและโซเชียลเน็ตเวิร์ค ที่ส่งเสริมให้ประชาชน
               เข้าถึงข้อมูลความรู้ทางสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เอื้อต่อการจัดบริการ การจัดเก็บข้อมูล การสื่อสารกับผู้รับบริการ
               ได้อย่างทั่วถึงมากขึ้น และการมีเครือข่ายสื่อมวลชนที่มีปฏิสัมพันธ์กับโรงพยาบาล

                        O6  ความตื่นตัวในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น มีผลิตภัณฑ์สุขภาพที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
               ส่งผลให้ศักยภาพในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพมีแนวโน้มที่ดีมากขึ้น มีการน าหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ด้าน
               เกษตรอินทรีย์
                        O7  การใช้ประโยชน์จากความร่วมมือทางวิชาการ การพัฒนาบริการทางสุขภาพจากโรงพยาบาล

               ระดับสูงกว่าในเขตสุขภาพ มหาวิทยาลัย และมีแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดบริการสุขภาพทั้งด้านการส่งเสริม
               รักษา ฟื้นฟู ป้องกัน ซึ่งโรงพยาบาลสามารถเรียนรู้ และน ามาพัฒนาในพื้นที่
                        O8  การเพิ่มขึ้นของกลุ่มผู้รับบริการผู้สูงอายุในพื้นที่ เป็นโอกาสในการพัฒนาบริการทาง
               การแพทย์และการพยาบาล และบริการอื่นๆ เพื่อรองรับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ

                        O9  ยุทธศาสตร์การพัฒนาของประเทศ กระทรวง เขตสุขภาพ ให้ความส าคัญกับการจัดการเพื่อ
               ลดปัญหาการเจ็บป่วย การป่วยตายในโรคส าคัญของพื้นที่ให้น้อยลง มีการก าหนดนโยบาย แนวทางการจัดสรร
               ทรัพยากร การสนับสนุนด้านวิชาการ การเป็นหลักประสานความร่วมมือเชิงบูรณาการต่อพื้นที่
                        O10 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพของประเทศ กระทรวง เขตสุขภาพ มีความ

               เชื่อมโยงเป็นไปในทิศทางเดียวกันที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ได้





                                                                                                    หน้า 36
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44