Page 35 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 35

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


               โรงพยาบาลและการเคลื่อนย้ายส่งต่อผู้ป่วยกลับภูมิล าเนา พร้อมทั้งสร้างระบบการดูแลในระดับพรีเมี่ยมเป็น
               การเฉพาะเพื่อการสร้างโอกาส คุณค่า และมูลค่าในการบริการ

                           ด้ำนโรคเรื้อรัง
                           (๑)  พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยมุ่งเน้นการสร้างระบบการดูแลประชาชนในวัยท างานที่มี
               ความเสี่ยงสูงและกลุ่มผู้สูงอายุในรายบุคคล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกก าลังกาย
               พฤติกรรมที่เป็นภัยสุขภาพ สร้างกลุ่ม Care Giver เป็นรายโรค พัฒนาภาคีเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

               ด้วยระบบพี่เลี้ยงเพื่อการลดกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง
                           (๒)  เสริมสร้างความเชี่ยวชาญของบุคลากรทางการแพทย์ ให้มีบุคลากรทางการแพทย์เพิ่มเติม
               ตามแผนการพัฒนาบริการ สร้างอัตลักษณ์บริการโดยการพัฒนาการแพทย์ทางเลือกในการดูแลผู้ป่วยโรค
               เรื้อรัง ด้วยทีมสุขภาพท้องถิ่นโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญสหสาขา (แพทย์เฉพาะทาง พยาบาลเฉพาะทางโรคเรื้อรัง

               เภสัชกร โภชนากร กายภาพ ฯลฯ) สร้าง Mini Case  Manager  ในเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแล
               ผู้ป่วย การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน การจัดการรายกรณีของเครือข่ายก่อนการส่ง รพ.แม่ข่าย และสร้างศูนย์
               บริหารจัดการในการส่งกลับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในระดับจังหวัด
                        3) กำรเสริมสร้ำงควำมเชื่อมั่นด้ำนบริกำรและไว้วำงใจทำงกำรแพทย์ เป นโรงพยำบำลคุณภำพ

               ปลอดภัย ไร้รอยต่อ (Safety and Seamless One That Believe and Trust)
                           (๑)  เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การจัดพื้นที่เพื่อการควบคุมโรคติดต่อที่มาจากการเคลื่อนย้าย
               ประชากรที่มีภาวะเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ า มุ่งเน้นการสร้างระบบการจัดการ

               ความเสี่ยงเพื่อให้โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยต่อการแพร่กระจายเชื้อในทุกหน่วยบริการด้วยระบบการ
               จัดการที่ได้มาตรฐานสากล
                           (๒)  พัฒนาระบบการส่งต่อเพื่อลดและแก้ปัญหาความล่าช้า ความไม่ปลอดภัย ความไม่สะดวก
               ที่เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการ โดยมุ่งสร้างแนวปฏิบัติร่วมในการส่งต่อ (Refer  Contact  Service) ที่ครอบคลุม
               ในพื้นที่บริการของโรงพยาบาล (เครือข่ายในจังหวัด) เขตสุขภาพ และนอกเขตสุขภาพ พัฒนาระบบการ

               ติดตามผู้ป่วยเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่องหลังจากจบกระบวนการดูแลในโรงพยาบาลแล้ว โดยมุ่งเน้นการมี
               ส่วนร่วมของเครือข่ายปฐมภูมิ ติดต่อสื่อสารผ่าน Social  Media  Application  และ F/U  โดยบุคลากรทาง
               การแพทย์ส าหรับกรณีผู้ป่วย Premium

                           (๓)  การบริการด่านหน้ามุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจในบริการ โดยการน ารูปแบบ
               การบริการ ณ จุดเดียว และบริการผ่านระบบ Digital  ที่ผู้ใช้บริการสามารถใช้บริการล่วงหน้าจากบ้าน
               การลดระยะเวลารอคอยในการบริการ พร้อมปฏิรูปการจัดระเบียบสภาพแวดล้อมการบริการด่านหน้า โดยการ
               สร้างสิ่งแวดล้อมและสิ่งอ านวยความสะดวก เพื่อสร้างสุขระหว่างรอรับบริการ มุ่งเน้นให้ทุกหน่วยบริการ

               สร้างนวตกรรมที่น าไปสู่ความพึงพอใจ ประทับใจ เหนือความคาดหวัง ให้เกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจได้
               เพื่อให้บรรลุในค่านิยมร่วม “รับผิดชอบ บริกำรดี มีน้ ำใจ” อย่างเป็นรูปธรรม
                        4) กำรเสริมสร้ำงภำพลักษณ์ และกำรยกระดับบริกำรพัฒนำบริกำรสู่นำนำชำติ
               (International and Premium Service)

                           (๑)  เสริมสร้างระบบบริการทางการแพทย์ระดับพรีเมี่ยมเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ
               การค้าชายแดน มุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบการบริการเฉพาะ การส่งต่อผู้ป่วย การบริการเชิงรุกในพื้นที่ การ
               ออกแบบบริการเฉพาะทางการแพทย์ส าหรับองค์กรหรือผู้ใช้บริการ การพัฒนาบริการทางการแพทย์เพื่อ
               รองรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และการท่องเที่ยวนานาชาติ เน้นการสร้างสรรค์รูปแบบทัวร์สุขภาพ การตรวจ








                                                                                                    หน้า 32
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40