Page 38 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 38

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                        จุดแข็งของโรงพยำบำลในปัจจุบัน (Strength)
                        S1  ผู้บริหารเข้มแข็งพร้อมสนับสนุนการปฏิบัติงานทั้งด้านคน เงิน ของ ให้บรรลุผลส าเร็จ จนผ่าน

               การรับรองคุณภาพ รพ. และเครือข่าย
                        S2  แพทย์เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมทั่วไป กระดูก และ EENT  เพียงพอ ท างานเป็นทีม มีระบบ
               พัฒนาเครือข่ายบริการระบบ Fast Track ซึ่งมุ่งเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
                        S3  มีระบบบริหารทางการเงินที่โปร่งใส ตรวจสอบได้

                        S4  ผู้น าและทีมน าให้ความส าคัญในการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล และบุคลากรมีความ
               ร่วมมือร่วมใจอย่างเป็นรูปธรรมในการพัฒนาคุณภาพจนสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ทั้งทางคลินิก
               และในชุมชน โรงพยาบาลมีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาและ
               ลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน พร้อมพัฒนาบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่อย่างต่อเนื่องและมี

               ผลงานเด่นด้านการรักษาโรคหัวใจ โรคจักษุ ด้านการเงินการคลัง ด้านคุณภาพการบันทึกข้อมูลที่ได้รับรางวัล
               จากองค์กรภายนอก
                        S5  กระบวนการหลักในการส่งต่อมีประสิทธิภาพ ระบบสนับสนุนการส่งต่อมีความเชื่อมโยงเป็น
               เครือข่าย (Refer  Link)  สามารถรองรับความต้องการได้ และมีประสิทธิภาพในการเป็นแม่ข่ายเพื่อการ

               รักษาพยาบาล วิชาการ การบริหาร การสนับสนุนทรัพยากรให้กับโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัด ผ่าน
               กระบวนการ Service Plan สัญจร
                        S6  ระบบบริหารจัดการด้านการเงินการคลังมีพัฒนาที่เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง มีแนวปฏิบัติที่ดีเป็น

               ที่ศึกษาของโรงพยาบาลอื่นของเขต พร้อมทั้งมีประสิทธิภาพของการใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยี
               สารสนเทศที่ผู้บริหารให้ความส าคัญ และผู้ปฎิบัติสามารถใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการด าเนินงาน

                        จุดอ่อนของโรงพยำบำลในปัจจุบัน (Weakness)
                        W1  ขาดแคลนบุคลากรในบางสาขา เช่น แพทย์/พยาบาล

                        W2  ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล บางส่วนยังไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ค่าตอบแทน การมอบหมายงาน
               การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้รัก สามัคคี และรับผิดชอบ รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพในบางด้าน เช่น
               ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาวะผู้น า การสื่อสารฯ

                        W3  สิ่งสนับสนุน อาคาร เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ และ IT ยังไม่เพียงพอ
                        W4  ยังไม่มีการวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์การเจ็บป่วย และป่วยตายใน ๑๐ ปีข้างหน้า เพื่อ
               น ามาสู่การเตรียมการด้านการจัดบริการรักษาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ การจัดบริการเชิงรุกที่เข้าถึง
               ประชาชนอย่างทั่วถึงยังไม่ทันท่วงที ประสิทธิภาพของกระบวนการวินิจฉัยและดูแลรักษายังไม่ครอบคลุมทุก

               สาขา โดยเฉพาะสาขาภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
                        W5  ยังมีโรคที่โรงพยาบาลยังไม่สามารถจัดบริการทางการแพทย์เพื่อการจัดการปัญหาโรค
               เนื่องจากขาดผู้เชี่ยวชาญและเครื่องมือที่มีความพร้อม อีกทั้งประสิทธิภาพในการดูแลรักษา การส่งต่ออย่างมี
               คุณภาพและไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยยังต้องได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับกับปัญหาและความต้องการของ

               โรคในอนาคต (โรคทางศัลยกรรมประสาท, มะเร็งที่รักษาด้วยเคมีบ าบัด)
                        W6  ขาดข้อมูลในลักษณะแนวโน้มในอนาคต และความตระหนักต่อการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง
               ครบถ้วน ทันเวลา และการแปลงข้อมูลดิบจากการปฏิบัติงาน การจัดการให้เป็นสารสนเทศที่เอื้อต่อผู้บริหารที่
               จะน าไปพัฒนาทางการบริหารและบริการ








                                                                                                    หน้า 35
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43