Page 68 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 68
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
๓. เป้ำประสงค์ ตัวชี้วัด และค่ำเป้ำหมำย
ข้อมูล ค่ำเป้ำหมำยตำมแผนพัฒนำ ๕ ปี (พ.ศ.)
เป้ำประสงค์ ตัวชี้วัด ปัจจุบัน ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕
๒๕๕๙
บุคลากรมีสุขภาพดี มีความสุข ร้อยละค่าเฉลี่ยของ N/A ๗๐ ๗๐ ๗๐ ๗๕ ๗๕
ในการปฏิบัติงานและความ ระดับความสุขและ (๒๕๖๐=
ภาคภูมิใจในวิชาชีพและการ ความภาคภูมิใจใน ๖๓.๒๑)
ท างานในองค์กร วิชาชีพ และการ
ปฏิบัติงาน
(Happinometer)
ร้อยละของ N/A ๘๐ >๘๐ ≥๘๕ ≥๘๕ ๙๐
บุคลากรที่ผ่านการ
ประเมินพฤติกรรม
ด้านคุณธรรม
จริยธรรม(ค่านิยม)
ร้อยละของ ๔๘.๕๐ ๖๐ ๖๐ 8๐ 90 95
บุคลากรที่ผ่าน (๒๕๖๐=
เกณฑ์คนสุขภาพดี ๖๓.๑๘)
ของโรงพยาบาล
บุคลากรมีศักยภาพสูงพร้อม ร้อยละของ N/A ๒๐ ๔๐ ๖๐ ๘๐ ๑๐๐
รองรับการเติบโตของ บุคลากรที่ผ่าน
โรงพยาบาลที่เชื่อมโยงกับ เกณฑ์สมรรถนะ
นานาชาติและการจัดบริการ ทางการบริหารและ
ตามยุทธศาสตร์และทิศทาง สมรรถนะสากล
ของประเทศและจังหวัด (IT, English)
๔. กลยุทธ์ มำตรกำรและแนวทำงปฏิบัติ
๑) พัฒนำสมรรถนะบุคลำกร เพื่อรองรับกำรเติบโตของภำรกิจสุขภำพของโรงพยำบำลตติยภูมิ
ชั้นน ำ และปฐมภูมิคุณภำพ
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
(๑) พัฒนาระบบการบริหารและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐาน AHA
พร้อมการน าแนวปฏิบัติที่ดีด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลมาปรับใช้ พร้อมทั้งจัดท าแผนพัฒนาบุคลากรใน
ระยะ ๕ ปีที่สัมพันธ์กับแผนยุทธศาสตร์ และให้มีแผนพัฒนาบุคลากรในทุกหน่วยงานย่อยของโรงพยาบาล
(๒) พัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสมรรถนะบริการทางการแพทย์ สมรรถนะการบริการที่ยอดเยี่ยม
และสมรรถนะสากล (คอมพิวเตอร์, ภาษาอังกฤษ) เพื่อรองรับการจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย
(๓) เสริมสร้างความเชี่ยวชาญทางการแพทย์เฉพาะทาง โดยการร่วมมือกับสถานบริการสุขภาพ
ชั้นน าเพื่อการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ให้ตอบสนองกับพื้นที่ ประกอบด้วย
หน้า 60