Page 69 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 69
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
- แพทย์เฉพาะทาง ด้านอุบัติเหตุฉุกเฉิน เวชศาสตร์ครอบครัว อาชีวเวชศาสตร์ สาขา
โรคมะเร็ง ศัลยกรรมพลาสติก
- พยาบาลเฉพาะทางสาขาอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรคเรื้อรัง การดูแลผู้สูงอายุ วิสัญญีพยาบาล
- จัดให้มีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเครือข่ายเขตสุขภาพที่ ๖ เพื่อการพัฒนาบุคลากร
ทางการแพทย์ร่วมกันของเขตสุขภาพ
(๔) สร้างมาตรฐานการประเมินทรัพยากรบุคคล และการให้สวัสดิการ ค่าตอบแทนเกื้อกูลที่เป็นธรรม มีมาตรฐาน
(๕) ส่งเสริม สนับสนุน ขีดความสามารถแก่หัวหน้างานในทุกหน่วยงานในการบริหาร และพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลในหน่วยงานของตนเองอย่างต่อเนื่อง
(๖) สร้างระบบการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในโรงพยาบาล โดยใช้ระบบการสอนงานและพี่เลี้ยง
(Coaching and Mentoring)
๒) พัฒนำระบบบริหำรทรัพยำกรบุคคล ที่มีมำตรฐำน ทันสมัย รองรับกำรพัฒนำบริกำรตำม
ภำรกิจและยุทธศำสตร์โรงพยำบำล
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
(๑) พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลให้สามารถน ามาบริหารจัดการได้แบบ Real-Time ผู้บริหารสามารถ
เข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา น าระบบ IT มาจัดการฐานข้อมูลด้านบุคลากร สามารถเอื้อต่อการบริหาร บริการ
วิชาการ และพัฒนาคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ปรับระบบการคัดสรรบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาท างาน การจัดฝึกอบรมก่อน
และระหว่างปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการท าหน้าที่ พัฒนาหัวหน้าหน่วยงานเกี่ยวบทบาทหน้าที่
ภาระงาน การมอบหมายงาน การก ากับดูแล และการประเมินผลการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งพัฒนาระบบ
ประเมินผลสมรรถนะในการปฏิบัติงานให้ปฏิบัติได้ง่าย และมีความเป็นธรรม
(๓) สรรหาและคัดเลือกบุคลากรในชื่อ "Talent Acquisition" ภายใต้แนวคิดที่ว่า "Bring Out
The Talent in You" โดยมีหลักปฏิบัติ "มุ่งมั่นในการพัฒนาด้านการศึกษา การเรียนการสอน การเพิ่ม
ศักยภาพและระบบสวัสดิการที่ดีต่อแพทย์และบุคลากรโรงพยาบาล รวมถึงมีการสร้าง Career Path หรือ
ความก้าวหน้าทางวิชาชีพเพื่อให้พนักงานทุกระดับมีความสนใจในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ภายใต้แนวความคิด “I Learn, I Grow”
(๔) พัฒนาด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยมีการเรียนผ่านระบบ Integrated E-learning
System ให้พนักงานทุกคนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจ าวันเพื่อสื่อสารกับลูกค้าและเพื่อนร่วมงานได้
และจัดให้มี E-Library ส าหรับการค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ของบุคลากรด้านการแพทย์
(๕) จัดหลักสูตร YLDP (Young Leadership Development Program), YNLDP (Young Nurse
Leadership Program) เพื่อเตรียมผู้บริหารระดับต้นและหลักสูตรผู้น าด้านการพยาบาล ซึ่งถือว่ามีความส าคัญ
ต่อโรงพยาบาลเป็นอย่างมาก เพราะเป็นประชากรเกือบครึ่งหนึ่งขององค์กร และหลักสูตร Admin Residency
Program เพื่อพัฒนาผู้น าระดับกลางโดยใช้รูปแบบการฝึกบริหารโครงการและการจัดการด้านธุรกิจ รวมถึงการ
บริหารด้านการเงิน
(๖) พัฒนาบุคลากรรองรับการเป็นโรงพยาบาลดิจิทัล โดย
- พัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้ดูแลระบบ (Administrator) และ
ผู้ใช้งาน (User) ให้ทันสมัยตลอดเวลา โดยก าหนดเป็นสมรรถนะที่ทุกคนต้องผ่านการประเมิน
- พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรในการใช้โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยระยะประคับ
ประคองและระยะยาว (LTC) โปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วย (Thai Refer) โปรแกรมเยี่ยมบ้าน (Thai COC.)
หน้า 61