Page 49 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 49

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                        ๘) สร้ำงสภำพแวดล้อมในครัวเรือน ชุมชน เอื้อต่อกำรมีสุขภำพดี อนำมัยสิ่งแวดล้อมและ
               ภัยคุกคำมทำงสุขภำพได้รับกำรจัดกำรอย่ำงมีคุณภำพ

                           มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
                           (๑) สร้างความเข้าใจให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งพัฒนา
               ขีดความสามารถในการจัดการสุขภาพของตนเองตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และการพัฒนา
               เมืองการค้าชายแดน เมืองเศรษฐกิจพิเศษ การเคลื่อนย้ายประชากรของประชาคมอาเซียนที่ก่อให้เกิดความ

               เสี่ยงทางสุขภาพต่อชุมชน
                           (๒) สร้างจิตส านึกของประชาชนในพื้นที่ให้มีการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง  ตั้งแต่ต้นทางถึง
               ปลายทาง ส่งเสริมให้มีการจัดการระบบบ าบัดของเสียก่อนปล่อยลงสู่ชุมชน ลดมลพิษทางอากาศ เช่น การเผาขยะ
               ฝุ่นละอองจากการพ่นยาฆ่าหญ้าหรือยาฆ่าแมลงในการประกอบอาชีพของเกษตรกร

                           (๓) มีธนาคารขยะเพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ส่งเสริมให้มีการใช้
               ภาชนะที่ย่อยสลายง่าย ท าจากวัตถุจากธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ปลอดโฟม

                           (๔) ก าหนดข้อปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
                           (๕) ส่งเสริมให้มีการจัดตู้ยาสามัญประจ าบ้านด้วยยาสมุนไพร
                        ๙)  ส่งเสริม รพ.สต. ร่วมมือกับหน่วยงำนภำคเกษตรกรรมและเกษตรกรในกำรตรวจสุขภำพ
               ชำวสวนด้ำนปัญหำสำรเคมีตกค้ำงในกระแสเลือด และกำรร่วมส่งเสริมเกษตรกรสุขภำพดีกำรจัดหำชุด
               ทดสอบอุปกรณ์ป้องกันตนเองจำกกำรท ำกำรเกษตร

                            มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
                          (๑) ส่งเสริมให้ รพ.สต. มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคเกษตรกรรม ท้องถิ่น เพื่อคัดกรองหา
               สารเคมีในกระแสเลือด
                          (๒) ส่งเสริมให้ อปท.จัดหาชุดทดสอบสารเคมีในกระแสเลือดเบื้องต้น เพื่อให้เกษตรกรสามารถ
               เฝ้าระวังกันเอง

                        ๑๐) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถประชำชนกลุ่มเสี่ยงให้พึ่งตนเองได้ กลุ่มป่วยสุขภำพดีขึ้น และมี
               คุณภำพชีวิตดีขึ้น ปัญหำกำรเจ็บป่วยในโรคที่ส ำคัญที่ป้องกันได้ลดลงทุกหมู่บ้ำน
                           มาตรการและแนวทางปฏิบัติ

                           (๑) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มเสี่ยงให้เสริมสร้างการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
               โดยเน้นการเปลี่ยนแปลงนิสัยสุขภาพ ที่เข้าถึงการดูแลในระดับบุคคลผ่านเครือข่ายของชุมชนอย่างจริงจัง
                           (๒) พัฒนาบุคคลต้นแบบให้ครอบคลุมทุกองค์กร  การมีส่วนร่วมในพื้นที่ของ รพ.สต.ในการ
               ผลักดันการจัดการสุขภาพเชิงพื้นที่ เพื่อมุ่งลดปัญหาสุขภาพโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

                           (๓) สร้างความฉลาดรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนสู่การปฏิบัติ โดยการสร้างหมู่บ้านน าร่องและ
               ชุมชนต้นแบบ เพื่อให้ชุมชนและ รพ.สต.มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดีตั้งแต่ระดับบุคคลและครอบครัว
                           (๔) พัฒนาภาคีเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยระบบพี่เลี้ยงเพื่อการลดกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง
               ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หวาน มัน เค็ม ในประชาชนทุกกลุ่มวัย

                           (๕) สร้างระบบ Home Ward ให้ครบทุกชุมชน ภายใต้การมีส่วนร่วมการพัฒนาระบบการแพทย์
               ปฐมภูมิให้ทุกโรงพยาบาลจัดบริการทางการแพทย์ในด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และยกระดับ รพ.สต.ให้เป็นด่านหน้า
               (Front  Line) และการพัฒนาระบบดิจิตอล เพื่อดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในทุกครัวเรือน โดยประสาน
               ความร่วมมือของเครือข่ายและจิตอาสา








                                                                                                    หน้า 46
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54