Page 46 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 46

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


               ๓. เป้ำประสงค์และตัวชี้วัดของประเด็นยุทธศำสตร์


                                                              ข้อมูล   ค่ำเป้ำหมำยตำมแผนพัฒนำ ๕ ปี (พ.ศ.)
                      เป้ำประสงค์              ตัวชี้วัด      ปัจจุบัน   ๒๕๖๑  ๒๕๖๒  ๒๕๖๓  ๒๕๖๔  ๒๕๖๕
                                                              ๒๕๕๙
               หน่วยบริการสุขภาพระดับ    ร้อยละของค่าเฉลี่ย   ๖๙.๒๓  ๘๐        ๘๐      ๘๐     ๘๐      ๘๐

               ปฐมภูมิมีระบบบริการที่เป็น ความพึงพอใจและ
               ที่เชื่อมั่นของผู้รับบริการ   ความเชื่อมั่นของ
                                         ประชาชนต่อการ

                                         บริการของหน่วย
                                         บริการสุขภาพปฐมภูมิ
               ประชาชนมีความฉลาดรู้ใน ร้อยละของประชาชน         N/A      ๖๕     ๗๐      ๗๕     ๘๐      ๘๕
               การดูแลสุขภาพของตนเอง  กลุ่มสุขภาพดี สามารถ

               และสามารถพึ่งตนเองทาง     พึ่งตนเองทางสุขภาพได้
               สุขภาพได้


               ๔. กลยุทธ์ มำตรกำร และแนวทำงปฏิบัติ
                        ๑) พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับและเครือข่ายประชาชนให้สามารถจัดการภาวะสุขภาพ
               ตนเอง ครอบครัว ได้ด้วยตนเอง เป็นต้นแบบบุคลากรสุขภาพดี ครอบครัวสุขภาพดี
                          มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
                           (๑)  เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรสาธารณสุขระดับปฐมภูมิและอาสาสมัคร

               สาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครสาธารณสุขประจ าครอบครัว (อสค.) อาสาสมัครสาธารณสุข
               ต่างประเทศ (อสต.) และอาสาสมัครสาธารณสุขทางทะเล (อสท.) เพื่อให้มีศักยภาพในการดูแลกลุ่มผู้ป่วยโรค
               เรื้อรังและผู้สูงอายุในชุมชนครอบคลุมทุกพื้นที่

                           (๒)  สร้างบุคคลต้นแบบสุขภาพดี เพื่อให้เป็นผู้น าการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพ เป็นแกนน าร่วม
               สร้างหมู่บ้านน าร่อง ชุมชนต้นแบบ โดยชุมชนและ รพ.สต. มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพที่ดี
                           (๓)  สร้างชุมชนต้นแบบให้มีการจัดการสุขภาพตนเองแบบยั่งยืน เพื่อท าหน้าที่ในการเป็นแกน
               หลักในการส่งเสริมให้ประชาชนมีจิตส านึกและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองครอบคลุมทุกครัวเรือนอย่าง

               ต่อเนื่องเป็นประจ าและยั่งยืน (Health Literacy Model)
                        ๒) เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ด้อยโอกาสทำงสังคม คนพิกำร ผู้ป่วยติดบ้ำนติดเตียงให้ได้รับกำร
               ดูแลอย่ำงทั่วถึง มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยระบบจิตอำสำบริกำรสุขภำพที่เข้มแข็ง
                           มาตรการและแนวทางปฏิบัติ

                           (๑) จัดระบบการดูแลผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม โดยชุมชนและมี
               ระบบการให้ยืมหรือหมุนเวียนอุปกรณ์ฟื้นฟูทางการแพทย์
                           (๒) พัฒนาผู้ดูแลผู้ป่วยในครอบครัวและเพื่อนบ้านใกล้เคียงให้มีความรู้ ทักษะในการดูแลตนเอง
               และผู้ป่วยในครอบครัว ร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายส าหรับผู้ป่วยในครอบครัวตนเอง










                                                                                                    หน้า 43
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51