Page 48 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 48
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
(๒) สร้างสรรค์รูปแบบการบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพด้วยอัตลักษณ์ของโรงพยาบาลตติยภูมิ
- การพัฒนาคลินิกส่งเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลด้านการลดพุง ลดโรค เป็นคลินิกให้
ค าปรึกษาและมีกระบวนการปฏิบัติแบบครบวงจร โดยเน้นการปฏิบัติการเชิงรุก
- การสร้างกิจกรรมที่เป็นอัตลักษณ์ของโรงพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ เช่น วิ่ง ปั่น
จักรยาน แอโรบิค ฯลฯ
- การสร้างมุมออกก าลังกายให้กระจายอยู่ในจุดต่างๆ ของโรงพยาบาล พร้อมทั้งส่งเสริมให้
ญาติและผู้ใช้บริการและประชาชนทั่วไปได้ใช้
- การปรับปรุงและพัฒนาศูนย์ออกก าลังกายของโรงพยาบาลที่สามารถรองรับบุคลากรของ
โรงพยาบาลและผู้มาใช้บริการจากภายนอก
๗) พัฒนำสถำนบริกำรสุขภำพปฐมภูมิ ให้มีมำตรฐำนกำรจัดบริกำรที่ประชำชนยอมรับและ
เชื่อมั่น
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
(๑) การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการ โดย
- การจัดบริการและสิ่งแวดล้อมให้ประชาชนสะดวกในการใช้บริการ ลดระยะเวลารอคอย
เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยแออัดที่โรงพยาบาลตราด เช่น เป็น One Stop Service
- การเพิ่มประสิทธิภาพการประเมินโรคด้วยตนเองโดยใช้ปิงปองจราจร ๗ สี มาเป็นสื่อ
ติดฝาผนังเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถประเมินระดับโรคของตนเองได้ และการสร้างสรรค์ระบบประเมินผ่าน Application
- พัฒนาสถานบริการปฐมภูมิจัดสิ่งแวดล้อมให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้อย่างปลอดภัยมี
มาตรฐาน
(๒) ส่งเสริมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลของเครือข่ายโรงพยาบาลให้มีนวัตกรรมการ
จัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิแก่ประชาชนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
- พัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนในระดับชุมชนให้มีคุณภาพ เป็นฐานข้อมูลเชิง
บูรณาการกับหน่วยงานภาคีที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข เน้นการสร้างนโยบายใน
การจัดท าฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนระดับ รพ.สต. ใช้ HosXP โรงพยาบาลตราดใช้โปรแกรม Trat PMK
การบูรณาการระบบฐานข้อมูลสุขภาพกับหน่วยภาคีเครือข่ายให้เป็นในรูปแบบเดียวกัน
- การนัดผู้ป่วยผ่านระบบ Thai Refer เพื่อสะดวกในการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยในการมา
พบแพทย์
- การใช้ Thai COC ในการติดตามเยี่ยม ส่งต่อผู้ป่วยทั้งจังหวัด การใช้โปรแกรม Thai CVD Risk
เพื่อประเมินความเสี่ยง
- พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโซเชียลมีเดียเพื่อการดูแล
ผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และเสริมประสิทธิภาพสารสนเทศรองรับการเติบโตของสังคมดิจิทัล
(๓) ยกระดับขีดความสามารถของบุคลากรทางการแพทย์ของหน่วยปฐมภูมิ
- การเสริมสร้างให้เป็นนักส่งเสริมสุขภาพมืออาชีพที่เชี่ยวชาญ
- การพัฒนาขีดความสามารถฟื้นฟูสุขภาพแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
ผู้สูงอายุและผู้พิการ
- การพัฒนาทักษะการจัดบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น (Basic Life Support)
หน้า 45