Page 82 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 82

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                              -  พัฒนารูปแบบบริการบริการสุขภาพผ่านความร่วมมือกับสถานบริการโรงแรมและ
               รีสอร์ทในรูปแบบ Hospitel รองรับการเชื่อมโยงบริการบริการท่องเที่ยว

                              -  ต่อยอดบริการแพทย์แผนไทยสู่การบริการแพทย์แผนไทย Premium ที่ทันสมัย และครบวงจร
                           (๖)  ลดต้นทุนในทุกหน่วยบริการด้วยกระบวนการบริหารต้นทุนในทุกหน่วยงานในโรงพยาบาล
               (Total Unit Cost Management System) โดย
                              -  ใช้เทคโนโลยีแทนก าลังคนในบางลักษณะงาน

                              -  น าระบบการ Outsource มาใช้ในการลดต้นทุนการบริการ
                              -  น าระบบ Public Private Partnership: PPP มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ
                              -  ส่งเสริมการน าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดเอกสารและขั้นตอนในการท างาน
                           (๗)  พัฒนาขีดความสามารถของทีมประชาสัมพันธ์พร้อมสร้างระบบการสื่อสาร การ

               ประชาสัมพันธ์ และการสร้างภาพลักษณ์โรงพยาบาล เน้นการท างานเชิงรุก การมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของ
               จังหวัด และการให้ความส าคัญกับกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นพิเศษ พร้อมทั้งให้มีกิจกรรมในการ
               สร้างทัศนคติแก่ประชาชนที่มีต่อโรงพยาบาล ให้มีกิจกรรม Open  House  ในทุกปีเพื่อการสร้างความเข้าใจ
               ระหว่างกัน และให้ความส าคัญกับการประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงนักท่องเที่ยว ประชากรอาเซียน และชาวต่างชาติ

               ที่มาท่องเที่ยวและพ านักในจังหวัดให้รับรู้และเข้ามาใช้บริการของโรงพยาบาลโดยเฉพาะการส่งเสริมสุขภาพ
               ของโรงพยาบาล
                        ๓) พัฒนาระบบบริหารภายในโรงพยาบาลสู่องค์กรสมรรถนะสูง

                           มาตรการและแนวปฏิบัติ
                           (๑)  ปรับเปลี่ยนระเบียบปฏิบัติในการท างานของโรงพยาบาลที่สามารถปรับให้เข้าถึงบริบทที่มี
               ความเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย เน้นการเชื่อมโยงการปรับระบบบริหารของโรงพยาบาลให้สามารถรองรับกับ
               ความเปลี่ยนแปลง ดังนี้
                              -  ความจ าเป็นของยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทย ๒๐ ปี และโมเดลเศรษฐกิจไทยแลนด์ ๔.๐

                              -  ความจ าเป็นของนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาของกระทรวงสาธารณสุข และเขต
               สุขภาพที่ ๖
                              -  ความจ าเป็นในการพัฒนาเชิงพื้นที่เพื่อเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด

                              -  ความจ าเป็นในการพัฒนากับนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ การค้าชายแดน การท่องเที่ยว
               เชิงสุขภาพ
                              -  ความจ าเป็นในการพัฒนาเพื่อรองรับสถานการณ์สุขภาพในปัจจุบันและอนาคต
                              -  ความจ าเป็นในการพัฒนาของการเปลี่ยนแปลงไปของปัจจัยภายนอก PESTLE  (การเมือง

               เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี กฎหมาย และสิ่งแวดล้อม)
                           (๒)  เสริมสร้างความเข้มแข็งของการน าองค์กรด้วยทีมบริหารเพื่อรองรับความเสี่ยงจากการ
               เปลี่ยนแปลงผู้น า สร้างทีมขับเคลื่อนโรงพยาบาลเพื่อร่วมพัฒนาโรงพยาบาล
                           (๓)  ปรับระบบการบริหารแผนยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการของโรงพยาบาลโดยแบ่งโครงการ

               เป็นระยะเร่งด่วน ระยะปานกลาง และระยะยาว และการเชื่อมโยงแผนงาน โครงการเพื่อการบูรณาการทรัพยากร
               กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผ่านกลไกของการท างานยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                           (๔)  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากองค์กรภาคีและภาคประชาชนเพื่อการสนับสนุนการด าเนินงาน
               ตามภารกิจของโรงพยาบาล สร้างช่องทางและเปิดโอกาสให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการร่วม








                                                                                                    หน้า 70
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87