Page 7 - แนวทางปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยวิกฤต ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
P. 7

ก. แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตทั่วไปที่ไม่ได้เป็น COVID-19 (Non-COVID patient)



                  ในสถำนกำรณ์กำรระบำดของ COVID-19 กำรดูแลผู้ป่วยวิกฤตโดยเฉพำะรำยที่ถูกส่งต่อจำกหน่วยบริกำรอื่นทั้ง

           ในและนอกโรงพยำบำล ควรด�ำเนินกำรดังนี้
                  (1) มีกำรประเมินควำมเสี่ยงต่อกำรติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ก่อนรับเข้ำมำรักษำในหออภิบำล โดยกำรคัดกรอง
           ทำงคลินิกจำกกำรซักประวัติ ตรวจร่ำงกำย และข้อมูลอื่น ๆ ตำมแนวทำงเวชปฏิบัติ กำรวินิจฉัย ดูแลรักษำและป้องกัน

           กำรติดเชื้อในโรงพยำบำลกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ดังตำรำง 2 (เอกสำรแนบหมำยเลข 1) ร่วมกับข้อมูล
           เชิงระบำดวิทยำของพื้นที่


            ตารางที่ 2 การประเมินทางคลินิกในผู้ป่วยที่จะย้ายเข้าหอผู้ป่วยวิกฤต โดยใช้การซักประวัติ อาการ อาการแสดง

            ประวัติ

            • มีประวัติเดินทำงไปยัง หรือมำจำกพื้นที่หรืออยู่อำศัยในพื้นที่เกิดโรคระบำดต่อเนื่องของ COVID-19

            • มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็น COVID-19

            • สัมผัสกับผู้ป่วย COVID-19 หรือสำรคัดหลั่งจำกระบบทำงเดินหำยใจของผู้ป่วย โดยไม่ได้ใส่ อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่
             เหมำะสม

            • เป็นผู้ประกอบอำชีพที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยว สถำนที่แออัด หรือติดต่อกับคนจ�ำนวนมำก

            • มีประวัติไปในสถำนที่ที่ชุมชน หรือสถำนที่ที่มีกำรรวมกลุ่มคน เช่น ตลำดนัด ห้ำงสรรพสินค้ำ สถำนพยำบำล
             ขนส่งสำธำรณะ

            • เป็นบุคลำกรทำงกำรแพทย์ที่มีโอกำสใกล้ชิด/ สัมผัสผู้ป่วย COVID-19

            อาการ และอาการแสดง (symptoms & sign)

            • ไอ

            • เจ็บคอ
            • ไข้ อุณหภูมิตั้งแต่ 37.5  C
                                 0
            • น�้ำมูกไหล

            • กำรสูญเสียกำรได้กลิ่น
            • ปวดศีรษะ

            • ปวดกล้ำมเนื้อ

            • หำยใจเหนื่อย/ หำยใจเร็ว



                  ผู้ป่วยวิกฤตที่ใส่เครื่องช่วยหำยใจหรือมีแนวโน้มที่จะต้องใส่เครื่องช่วยหำยใจ  แนะน�ำให้ตรวจคัดกรองทำงห้อง
           ปฏิบัติกำรไวรัสวิทยำเพิ่มเติม โดยท�ำ nasopharyngeal swab หรือใช้ tracheal aspirates เพื่อส่งตรวจ real time
           reverse transcriptase polymerase chain reaction (rRT-PCR) หรือ Nucleic Acid Amplification Test (NAAT)
           อื่นที่กรมวิทยำศำสตร์กำรแพทย์ กระทรวงสำธำรณสุขรับรอง  เนื่องจำกผู้ป่วยเหล่ำนี้มักจะต้องได้รับกำรท�ำหัตถกำร

           ที่มีละอองฝอย (aerosol generating procedures, AGP) ดังตำรำง 3 ทั้งนี้ ควำมจ�ำเป็นในกำรส่งตรวจให้พิจำรณำ
           ประกอบกับสถำนกำรณ์กำรระบำดในพื้นที่



                                                                                                            7
                        แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12