Page 4 - แนวทางปฏิบัติ การดูแลผู้ป่วยวิกฤต ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
P. 4

7. กำรเตรียมด้ำนสถำนที่ โดยมีมำตรฐำนหออภิบำล ดังนี้
                         7.1. ห้องหรือหออภิบำล COVID-ICU หรือ PUI-ICU ควรมี 2 องค์ประกอบหลักส�ำคัญ คือ

                              7.1.1 มีสมรรถนะและควำมพร้อมด้ำนอุปกรณ์ทำงกำรแพทย์ในกำรดูแลผู้ป่วยวิกฤต เช่น
                                   monitoring equipment,  ventilator, และ oxygen pipeline เป็นต้น
                              7.1.2 มีห้องแยกโรคที่รองรับกำรป้องกันกำรติดเชื้อที่แพร่กระจำยทำงอำกำศในลักษณะ

                                   ละอองฝอยขนำดเล็ก (aerosol) ซึ่งก็คือ Airborne infection isolation room (AIIR) โดย
                                   เป็นห้องที่มีควำมดันอำกำศเป็นลบเทียบกับภำยนอก ตำมมำตรฐำน American Society

                                   of Heating, Refrigerating, and Air Conditioning Engineers (ASHRAE)/The American
                                   National Standards Institute (ANSI) Standard 170-2017 และมีคุณสมบัติดังระบุ
                                   ในตำรำงที่ 1 ที่มี anteroom เป็นแบบที่เป็นห้องรวมส�ำหรับหลำยห้องแยก (ภำพ 1A)

                                   หรือมี anteroom เป็นแบบแยกแต่ละห้อง (ภำพ 1B) ก็ได้  ในกรณีเป็นหอผู้ป่วยเตียงรวม
                                   ที่ไม่มีห้องแยก (cohort COVID-ICU) ต้องมี anteroom รวม (ภำพที่ 2)  และมีทิศทำง

                                   กำรไหลของอำกำศจำกบุคลำกรทำงกำรแพทย์  ไปยังเตียงผู้ป่วย  โดยอำกำศที่เข้ำห้องผู้
                                   ป่วยเป็นอำกำศสะอำดผ่ำนตัว กรอง HEPA filter (0.3 micron) ส่วนอำกำศที่ออกจำก
                                   ห้องผู้ป่วยจะไหลออกทำงช่องทำงที่ก�ำหนดเท่ำนั้นที่กรองด้วย HEPA filter อีกครั้งก่อนน�ำ

                                   ไปทิ้งภำยนอก (ภำพ 3) นอกจำกนี้ควรมีกำรก�ำหนดช่องทำงเข้ำออกของผู้ป่วย/บุคลำกร
                                   เส้นทำงวัสดุที่สะอำด/วัสดุที่ปนเปื้อน ที่ใช้สะดวกและไม่ปะปนกัน

                                   หำกไม่สำมำรถสร้ำง AIIR เต็มรูปแบบได้ อำจปรับปรุงระบบระบำยอำกำศแบบง่ำยๆ

                         (modified AIIR) โดยคงหลักกำรในพื้นที่ของผู้ป่วยมีควำมดันเป็นลบ มีกำรควบคุมทิศทำงกำรไหล
                         ของอำกำศไปทำงเดียว และมีกำรระบำยอำกำศประมำณ 12 Air Change Per Hour  ดังตัวอย่ำง

                         ในหนังสือคู่มือกำรปรับปรุงคุณภำพอำกำศภำยในอำคำรสถำนพยำบำลของสถำบันบ�ำรำศนรำดูร
                         กรมควบคุมโรค กระทรวงสำธำรณสุข


                ตาราง 1 คุณสมบัติทางกายภาพของ airborne infection isolation room (AIIR)

                1. ควำมดันลบของห้อง ICU ไม่น้อยกว่ำ -5 Pascal และมีห้อง anteroom ควำมดันลบไม่น้อยกว่ำ -2.5 Pascal
                2. อัตรำกำรหมุนเวียนอำกำศในห้องไม่น้อยกว่ำ 12 เท่ำของปริมำตรห้อง/ชม. (12 ACH)

                3. กำรเติมอำกำศจำกภำยนอกเข้ำมำไม่น้อยกว่ำ 2 เท่ำของปริมำตรห้อง/ชม. (2 ACH)
                4. ระบบปรับอำกำศและระบบระบำยอำกำศแยกจำกพื้นที่อื่น

                5. อำกำศออกจำกห้องผ่ำนท่อระบำยอำกำศทิ้งเท่ำนั้น อำกำศที่ไหลวนกลับเข้ำมำใช้ใหม่ภำยในห้อง (return air)
                  ต้องไหลผ่ำน high efficiency particulate air (HEPA) filter ส่วนอำกำศที่ปล่อยทิ้งออกภำยนอก อำจไม่ต้อง
                  ใช้ HEPA filter แต่ต้องปล่อยทิ้งในพื้นที่ที่ไม่มีคนผ่ำน และไม่ไหลวนกลับเข้ำไปในส่วนใด ๆ ของอำคำร หำกไม่

                  สำมำรถหำต�ำแหน่งกำรระบำยอำกำศที่ปลอดภัยได้ ก็ต้องติดตั้ง HEPA filter ที่ทำงระบำยอำกำศขำออกด้วย
                6. ต้องมีกำรดูแลระบบกำรไหลเวียนอำกำศ ตลอดจนประสิทธิภำพกำรท�ำงำนของ HEPA filter สม�่ำเสมอ


                หมำยเหตุ ACH = Air Change Per Hour








             4             แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
   1   2   3   4   5   6   7   8   9