Page 57 - ถาม - ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมายการบริการทางการแพทย์
P. 57

ซึ่งบัญญัติว่า “ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะน าไป
          เปิดเผยในประการที่น่าจะท าให้ผู้อื่นเสียหายนั้นไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นจะ

          เป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติ

          ให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ใดจะอาศัยอ านาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่า
          ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูล

          ด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนนั้นไม่ได้”   และในมาตรา ๔๙ “บัญญัติว่า
          ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ

          ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจ าทั้งปรับ” ซึ่งการอนุญาตถ่ายภาพผู้ป่วยในห้อง

          ฉุกเฉิน แบ่งได้เป็น ๒ กรณี คือ

               ๑. พนักงานสอบสวนหรือต ารวจเป็นผู้ถ่าย กรณีนี้ถือว่าพนักงานสอบสวน
          หรือต ารวจมีอ านาจหน้าที่ในการสอบสวนแสวงหาข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน
          เพื่อประกอบการด าเนินคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

          การถ่ายรูปผู้ป่วยที่เกี่ยวกับคดีในความรับผิดชอบย่อมสามารถท าได้ ตามปกติ

          ถ้าผู้ป่วยยังมีสติสัมปชัญญะ หากผู้ป่ วยยินยอมหรือไม่มีท่าทีคัดค้านก็ถือว่า
          ผู้ป่วยให้ความยินยอมให้ต ารวจถ่ายรูปได้ แต่กรณีผู้ป่วยไม่มีสติสัมปชัญญะ

          แพทย์ต้องรีบท าการรักษาจึงอาจแจ้งต ารวจทราบว่า ยังไม่อาจถ่ายภาพผู้ป่วย

          ในตอนนั้น เพราะต้องช่วยชีวิตผู้ป่วยก่อน การเข้าไปถ่ายรูปอาจเป็นการรบกวน
          การท างานของทีมแพทย์ พยาบาล ที่อาจส่งผลร้ายต่อผู้ป่วยได้ จึงควรแจ้งต ารวจ

          หรือพนักงานสอบสวนทราบ ถ้ามีการถ่ายภาพไปแล้วหรือถ่ายภาพหลังจากการ

          ช่วยชีวิตแล้ว แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ ควรบันทึกไว้ในเอกสารหรือใน
          เวชระเบียนว่า ต ารวจได้มาท าการถ่ายภาพผู้ป่วย เพื่อประกอบการด าเนินคดี

          ไว้ด้วย เพื่อป้ องกันผู้ป่วยมาร้องเรียน หรือฟ้องร้องในภายหลัง






                  ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์  ๔๙
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62