Page 36 - ถาม - ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมายการบริการทางการแพทย์
P. 36

ก็มีบทบัญญัติในท านองเดียวกัน จึงถือได้ว่าตราบใดที่ยังไม่มีค าพิพากษาว่า

          กระท าความผิด ยังต้องถือว่า ผู้ถูกกล่าวหาหรือจ าเลยเป็นผู้บริสุทธิ์”  ดังนั้น ต้อง

          ถือว่า ทุกคนยังเป็นผู้บริสุทธิ์ การเป็นผู้ป่วยคดีก็ต้องได้รับการปฏิบัติอย่างเท่า

          เทียมกัน การเก็บเวชระเบียนผู้ป่วยเป็นการบริหารจัดการของโรงพยาบาล หาก
          โรงพยาบาลเห็นว่าการแยกเก็บเวชระเบียนเฉพาะผู้ป่วยคดี จะท าให้การด าเนินการ

          สะดวกขึ้น ก็สามารถท าได้ แต่โดยหลักไม่ควรแยก เพราะอาจถูกมองว่า เป็น

          การแบ่งแยกเพราะเหตุถูกคดีอาญาหรือเกี่ยวข้องกับคดีอาญา ซึ่งอาจท าให้ผู้ป่วย
          ต้องเสียหายต่อชื่อเสียงก็ได้ ส่วนการประทับตราเป็นผู้ป่วยคดีลงในเวชระเบียนนั้น

          ไม่ควรกระท าเพราะจะท าให้เห็นการแบ่งแยกชัดขึ้น รวมทั้งอาจเป็นการละเมิด

          สิทธิของผู้ป่วย และไม่มีกฎหมายหรือระเบียบราชการใด ให้สามารถท าได้
               กฎหมายเกี่ยวกับผู้ป่วยในเรื่องเวชระเบียน หลักส าคัญคือ การคุ้มครอง

          ข้อมูลด้านสุขภาพ ตามมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐

          ซึ่งบัญญัติว่า มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
          ผู้ใดจะน าไปเปิดเผยในประการที่น่าจะท าให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่

          การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง  หรือมีกฎหมาย

          เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอ านาจหรือสิทธิ

          ตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ หรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร
          เกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้

               ดังนั้น  เวชระเบียนเป็นเอกสารส าคัญเพราะเป็นเอกสารแสดงถึงการรักษา

          พยาบาลผู้ป่วย ข้อมูลในเวชระเบียนเป็นความลับ การดูแลเวชระเบียนผู้ป่วย
          ต้องเท่าเทียมกันโดยไม่ต้องค านึงว่า เป็นผู้ป่วยธรรมดาหรือผู้ป่วยคดี








                 ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์  ๒๘
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41