Page 35 - ถาม - ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมายการบริการทางการแพทย์
P. 35

มาตรา ๒๐๕ วรรคหนึ่ง  ถ้าการกระท าดังกล่าวในมาตรา ๒๐๔  เป็น

          การกระท าโดยประมาทผู้นั้นมีความผิด

                 โดยหลักของกฎหมายอาญา การกระท าที่ถือเป็นความผิดที่กฎหมาย

          บัญญัติต้องเป็นการกระท าโดยเจตนาเท่านั้น นอกจากบางกรณีที่กฎหมาย
          บัญญัติว่า กระท าโดยไม่มีเจตนาหรือประมาทเลินเล่อถือเป็นความผิด กรณี

          ความผิดฐานท าให้ผู้ต้องขังหลบหนีตามกฎหมายนั้น ต้องมีเจตนาเป็นส าคัญ

          การที่ผู้ต้องหาหลบหนีไปได้เอง โดยพยาบาลไม่มีเจตนาช่วยเหลือย่อมไม่มี
          ความผิด ส่วนกรณีที่มีความผิดฐานประมาทเลินเล่อเป็นเหตุท าให้ผู้ต้องขัง

          หลบหนีไปตามมาตรา ๒๐๔ วรรคหนึ่ง และมาตรา  ๒๐๕ วรรคหนึ่งนั้น

          กฎหมายก าหนดว่า ผู้นั้นต้องเป็นเจ้าพนักงานที่มีต าแหน่งควบคุมดูแลผู้ต้องคุม
          ขัง แต่กรณีนี้พยาบาลไม่ใช่เจ้าพนักงานที่มีต าแหน่งหน้าที่ดังกล่าว พยาบาลจึง

          ไม่มีส่วนต้องรับผิดแต่อย่างใด อย่างไรก็ตามในฐานะที่เป็นข้าราชการ พยาบาล

          ก็ควรช่วยสอดส่องดูแลตามสมควร
                 ข้อ ๓๒ การเก็บเวชระเบียนผู้ป่วยคดี ต้องแยกเฉพาะหรือไม่ สามารถ

          ประทับตราเป็นผู้ป่วยคดีลงในเวชระเบียนหรือไม่ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ

          ผู้ป่วยคดี ในเรื่องเวชระเบียนมีอะไรบ้าง

                 ผู้ป่วยคดี น่าจะหมายถึง ผู้ป่วยที่เป็นผู้เสียหาย ผู้ต้องหา หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
          กับการด าเนินคดีอาญา

                 ตามปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน ข้อ ๑๑ (๑) กล่าวว่า “บุคคล

          ซึ่งถูกกล่าวหาด้วยความผิดทางอาญา มีสิทธิได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่า บริสุทธิ์
          จนกว่าจะมีการพิสูจน์ว่ามีความผิดตามกฎหมาย  ในการพิจารณาโดยเปิดเผย

          ณ ที่ซึ่งตนได้รับหลักประกันทั้งหมดที่จ าเป็นในการต่อสู้คดี และในรัฐธรรมนูญ





                 ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์  ๒๗
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40