Page 30 - ถาม - ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมายการบริการทางการแพทย์
P. 30

วิชาชีพทางการแพทย์ หากในระหว่างอยู่ที่บ้านหรือระหว่างอยู่นอกโรงพยาบาล

          แล้วผู้ป่วยเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น และเกิดอันตรายถึงแก่พิการหรือเสียชีวิต แพทย์

          อาจต้องรับผิด เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า การพิการหรือเสียชีวิตไม่เกี่ยวเนื่องกับ

          อาการป่วยของผู้ป่วย แต่ก็อาจผิดระเบียบหลักเกณฑ์การรับผู้ป่วยในของโรงพยาบาล
          ในทางกฎหมายอาจมีความผิดฐานกระท าการโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่น

          ถึงแก่ความตายหรือบาดเจ็บ ซึ่งเป็นความผิดทางอาญาและอาจต้องรับผิดทาง

          แพ่งฐานละเมิด อย่างไรก็ตาม หากมีกรณีเหตุจ าเป็นอย่างยิ่งต้องออกไปนอก
          โรงพยาบาลเพื่อปฏิบัติกิจกรรมที่ส าคัญมากและต้องท าด้วยตนเอง แพทย์ต้องท า

          การประเมินสภาพการเจ็บป่วยของผู้ป่วยในขณะนั้น หากเห็นว่า สามารถเดินทาง

          ออกไปได้ชั่วคราวก็อาจอนุญาต แต่ควรให้มีการท าหนังสือเป็นหลักฐาน โดยถือ
          ว่าเป็นความประสงค์และยินยอมของผู้ป่วย แต่ไม่ควรให้กลับไปค้างคืนที่บ้าน

          หากเห็นว่าอาการน่าจะไม่เป็นอะไรมากแล้ว ควรจ าหน่ายออกไปจากผู้ป่วยใน

          จะปลอดภัยกว่า ซึ่งการด าเนินการต่างๆ เหล่านี้ ควรรายงานให้ผู้อ านวยการหรือ
          ผู้บังคับบัญชาทราบด้วย

               ข้อ ๒๖ การที่ผู้อ านวยการสั่งให้พยาบาลจ่ายเงินคืนให้โรงพยาบาล กรณี

          ผู้ป่วยหนี พยาบาลจะฟ้องผู้อ านวยการโรงพยาบาลทางปกครองได้หรือไม่

               เรื่องนี้เป็นเรื่องค าสั่งทางปกครอง ซึ่งตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
          ราชการทางปกครอง  พ.ศ. ๒๕๓๙  เมื่อผู้มีอ านาจออกค าสั่งทางปกครองไปยัง

          คู่กรณี คู่กรณีสามารถยื่นอุทธรณ์ค าสั่งนั้นภายใน ๑๕ วันนับแต่วันได้รับทราบ

          ค าสั่ง หากผู้ออกค าสั่งเห็นว่าค าสั่งนั้นไม่ถูกต้องก็ต้องยกเลิกเพิกถอนหรือแก้ไข
          แต่ถ้าค าสั่งที่ออกไปนั้นถูกต้องแล้ว   ต้องส่งไปให้ผู้มีอ านาจพิจารณาอุทธรณ์คือ

          ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปตามที่กฎหมายก าหนดเป็นผู้พิจารณา และเมื่อมีค าสั่ง





                 ถาม-ตอบ สารพันปัญหาข้อกฎหมาย การบริการทางการแพทย์  ๒๒
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35