Page 8 - คลินิกบริการกัญชาทางการแพทย์
P. 8

7

                                 - ใบยินยอมการรักษา SAS และ ใบ ยส.5
                                - ข้อมูลยา/ฉลากยาที่ส่งมอบให้ผู้ป่วย/ เอกสารการกับยา/ คู่มือส าหรับผู้ป่วย: อย. เป็นต้น

              3. C-Product Supply - น้ ามันกัญชา (Oil 5cc./ขวด/เขต):องค์การเภสัช (315ขวด19/8/62 (THC>CBD) และ

                                      โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 500 ขวด 9/62 (THC=CBD) -Supply Chain
                               รพ./เขต:กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

              4. C-Investigation      - Test: Product THC: CBD (Strip test)      - Test: Urine Blood THC: CBD

              5. C-Referral System    - Service Clinic: อสม./หมอพื้นบ้านส่งต่อรพ.ทุกระดับ/ใบส่งตัวรับบริการตามแนวทางฯรพ.น าร่อง
                                   - Service ADR /ER: รพสต>รพช>รพท./รพศ.>สถาบันธัญญารักษ์ฯ/รพ.จิตเวช

                                      - ใบส่งตัวและใบสรุป/บัตรนัดรักษาฯ บันทึกH4U และให้ QR code

              6. C-R&D - ศึกษาประเด็น รายโรค:สูตรกัญชำ,ชนิด:ปริมำณ (Micro-Dosing) และKM Community Best Practice


                         C- MAN บุคลำกรผู้ให้บริกำร คลินิกกัญชำทำงกำรแพทย์ (Minimum Requirements)

                       ๑. แพทย์ ๑ คน                                                ๒. แพทย์แผนไทย ๑ คน
                       ๓. พยาบาลหรือนักวิชาการ ๑ คน                           ๔. เภสัชกร ๑ คน

                       ๕. นักเทคนิคการแพทย์ ๑ คน                               ๖. เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (หน่วยสนับสนุน)

                    ๗. กลุ่มงานจิตเวชยาเสพติด (หน่วยสนับสนุน)            ๘. บุคลากรสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง

                   แพทย์ (ทันตแพทย์) แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือหมอพื้นบ้ำน : สามารถสั่งใช้ในผู้ป่วย

              เฉพาะรายของตนที่มีความจ าเป็นได้ โดยผู้ประกอบวิชาชีพที่จะสั่งให้ผู้ป่วยใช้กัญชาได้ตามที่ก าหนดในกฎหมายฉบับนี้
              จะต้องผ่านการฝึกอบรมการใช้กัญชาทางการแพทย์ตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนด และต้องใช้ในสถานที่

              ที่ได้รับอนุญาตจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา และเมื่อได้รับอนุญาตแลว ก็จะสั่ง และจ่ายยาที่มีส่วนผสม
              ของกัญชาให้กับผู้ป่วยได้ภายใต้หลักเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขก าหนด

                   เภสัชกร : หากสถานที่ที่ได้รับอนุญาตจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาใดมีเภสัชกร เภสัชกรท าหน้าที่

              ช่วยควบคุมการจัดเก็บ และจ่ายยาตามการสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพที่ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุข
              ก าหนดให้กับผู้ป่วยที่มีความจ าเป็นต้องใช้ยาที่มีส่วนผสมของกัญชาอย่างเหมาะสมตามมาตรฐานวิชาชีพ พร้อมกับมี

              การจัดท าบัญชีตามที่กฎหมายก าหนด สามารถใช้ระบบการรายงาน SAS ได้
                   พยำบำล : สามารถให้ความรู้ คัดกรอง ค าปรึกษาแนะน าเบื้องต้น และติดตามผลการรักษาผลข้างเคียง สามารถ

              ใช้ระบบการรายงาน C-MOPH ได้โดยผ่านการอบรมหลักสูตรการให้บริการกัญชาทางการแพทย์

                   นักเทคนิคกำรแพทย์ : สามารถตรวจพิสูจน์หรือให้ค าปรึกษาแนะน าตรวจความเข้มข้นสารสกัดกัญชา
                   กลุ่มงำนจิตเวชยำเสพติด : สามารถให้การสนับสนุน ความรู้เฝ้าระวังผลข้างเคียงด้านจิตเวชและยาเสพติด

              บุคลากร สถานที่หากจ าเป็นในบางหน่วยบริการเพื่อช่วยบริหารจัดการผู้ป่วยที่มารับบริการคลินิกกัญชาฯ

                   เจ้ำหน้ำที่เทคโนโลยีสำรสนเทศ : สามารถให้การสนับสนุนความรู้ เครื่องมือ อุปกรณ์ เพื่อช่วยจัดท าการบันทึก
              ข้อมูลการรักษาและส่งรายงานของคลินิกฯผ่านทางอินเตอร์เน็ตให้เป็นปัจจุบันได้
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13