Page 9 - แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยใน (IPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
P. 9

เอกสารแนบที่ 2




                      ค�าแนะน�าการใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง (personal protective equipment) กรณีโควิด-19
                                                  ฉบับวันที่ 20 เมษายน 2563                               1

              ที่มา: กรมการแพทย์ ร่วมกับคณะท�างานด้านการรักษาพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข คณะแพทย์จากมหาวิทยาลัย
              และสมาคมวิชาชีพต่างๆ.:  http://covid19.dms.go.th/Content/Select_Landding_page?contentId=63







                  ค าแนะน าการใช้อุปกรณ์ส่วนบุคคลป้องกันการติดเชื้อ (Personal Protective Equipment, PPE)
                                                 ฉบับวันที่ 20 เมษายน 2563
                    เนื่องจำกพบรำยงำนกำรแพร่กระจำยเชื้อในโรงพยำบำล (hospital setting) ในครอบครัว และ ผู้สัมผัส
              ใกล้ชิด (family cluster and closed contact cluster) ของ COVID-19 เพื่อป้องกันกำรแพร่กระจำยเชื้อและ
              กำรแยกผู้ป่วย (isolation precautions) องค์กำรอนำมัยโลกแนะน ำกำรป้องกันกำรแพร่กระจำยเชื้อและแยก
              ผู้ป่วย โดยใช้หลักกำร ดังต่อไปนี้
              1.  Standard precautions รวมถึง hand hygiene, respiratory hygiene and cough etiquettesและข้อ
                  ปฏิบัติอื่นๆ ควรท ำควำมสะอำดมือด้วยสบู่และน้ ำ หรือ แอลกอฮอล์เจล ทั้งก่อน/หลังสัมผัสผู้ป่วยสงสัย/เข้ำข่ำย
                  โรค COVID-19/ รวมถึงกำรล้ำงมือในทุกขั้นตอนของกำรถอดอุปกรณ์ PPE
              2.  โรคติดเชื้อทำงเดินหำยใจโดยทั่วไป ใช้ droplet precautions และ contact precautions กรณีของการติดเชื้อ
                  SAR-CoV-2 ติดต่อทาง droplet  และ contact transmission เช่นเดียวกันเป็นส่วนใหญ่ โดยในสภำพปกติ
                  เชื้อจะแพร่ได้ในระยะ 1 - 2 เมตร รองไปคือกำรสัมผัสสำรคัดหลั่งจำกทำงเดินหำยใจ (contact) องค์กำรอนำมัย
                  โลกได้แนะน ำให้ใช้วิธีกำรป้องกันแบบ droplet & contact precautions
              3.  COVID-19 อำจมีกำรแพร่กระจำยแบบ aerosol transmission ได้หำกผู้ป่วยไอมำก หรือมีกำรท ำหัตถกำร  ที่
                  ก่อให้เกิดละอองฝอยขนำดเล็ก (aerosol generating procedures) เช่น กำรใส่ท่อช่วยหำยใจ กำรส่องกล้อง
                  ทำงเดินหำยใจ กำรท ำ CPR เป็นต้น องค์กำรอนำมัยโลก และ ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งชำติ สหรัฐอเมริกำ
                  (US-CDC) จึงแนะน ำให้ป้องกันกำรแพร่กระจำยแบบ airborne precautions ในสถำนกำรณ์ดังกล่ำว
              4.  ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกเดี่ยว (single isolation room) ที่ปิดประตูตลอดเวลา หรืออาจอยู่ร่วมกับ
                  ผู้ป่วยยืนยันโรคนี้ในหอผู้ป่วยแยกโรค (cohort ward) โดยจัดให้มีการถ่ายเทอากาศ สู่ภายนอกอาคารที่โล่ง
                  หรือมีระบบบ าบัดอากาศตามความเหมาะสมของบริบทแต่ละโรงพยาบาล ในกรณีใส่เครื่องช่วยหายใจหรือต้อง
                  ท าหัตถการที่ท าให้เกิดละอองฝอยขนาดเล็ก (airborne generating procedure) ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในห้อง
                  airborne infection isolation room (AIIR) หรือ Modified AIIR) (ตำมข้อแนะน ำของกรมสนับสนุนบริกำร
                  สุขภำพ)
              5.  ให้ผู้ป่วยสวมหน้ากากอนามัย ซึ่งใช้ครั้งเดียวทิ้ง ตลอดเวลาที่อยู่ในสถำนพยำบำล เพื่อไม่ให้ละอองน้ ำมูก เสมหะ
                  ปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม
              6.  กรณีที่ท า CPR หรือ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอาการหนักระหว่างโรงพยาบาล ให้สวมชุดกันน้ ำ ชนิด cover all แทน
                  เสื้อคลุมแขนยำว (Protective gown) ชนิดกันน้ ำเพื่อลดกำรปนเปื้อนในขณะเดินทำง
              7.  หลีกเลี่ยงกำรเคลื่อนย้ำยผู้ป่วยออกนอกห้องพักโดยไม่มีควำมจ ำเป็น กรณีที่มีกำรเคลื่อนย้ำยผู้ป่วยต้องด ำเนินกำร
                  ตำมมำตรกำรกำรป้องกันกำรแพร่กระจำยเชื้อและให้แจ้งที่หมำยปลำยทำงรับทรำบล่วงหน้ำ
              8.  Protective gown หมำยควำมรวมถึง
                  8.1  Isolation gown กาวน์ที่ท าด้วยพลาสติก CPE (chlorinated polyethylene) อาจจะเป็นแบบที่ปิดเฉพาะ
                       ด้านหน้าหรือปิดรอบตัว
                  8.2   Surgical gown ซึ่งกันน้ าได้เฉพาะตัวชุด แต่รอยต่ออาจจะกันน้ าได้ไม่สมบูรณ์ และ
                  8.3   Surgical isolation gown ซึ่งกันน้ าได้ทั้งตัวชุดและรอยต่อ ส่วนใหญ่ควรใช้แบบที่ปิดคลุมรอบตัว มีสายรัดผูก
                       ที่ด้านข้างเอว แต่บางกรณีเช่น ที่ ARI clinic ส่วนนอกห้องตรวจ อาจจะใช้ CPE แบบที่ปิดเฉพาะด้านหน้าได้
              9.  กรณีที่สวม Respirator เช่น N-95, N-99, N-100, P-99, P-100 ควรท า fit test ก่อนน ามาใช้งาน และ ต้อง
                  ท า Fit check ทุกครั้งหลังการสวม mask ไม่ว่ำจะเป็น respirator หรือที่น ำมำใช้ใหม่หลัง decontaminate
              10.  การสวม การถอด PPE ต้องท าให้ถูกขั้นตอน โดยให้ศึกษาจาก website ของ กระทรวงสาธารณสุข


                  ค ำแนะน ำกำรใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง (personal protective equipment) กรณี โควิด-19  ฉบับ วันที่ 20 เมษายน 2563
               โดย กรมกำรแพทย์ ร่วมกับคณะท ำงำนด้ำนกำรรักษำพยำบำล กระทรวงสำธำรณสุข คณะแพทย์จำกมหำวิทยำลัยและสมำคมวิชำชีพต่ำงๆ



                แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยใน (IPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19                       9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14