Page 8 - แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยใน (IPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
P. 8

เอกสารแนบที่ 1




                          แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
                        กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฉบับปรับปรุง 1 พฤษภาคม 2563



           ที่มา: คณะท�างานด้านการรักษาพยาบาลและการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรมการแพทย์

           กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ คณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่างๆ .:
           https://covid19.dms.go.th/Content/Select_Landding_page?contentId=69






                         ฉบับปรับปรุง วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ส าหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข
                         แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล
                                        กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)


                                   1.  ผู้ป่วยที่มีอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ไอ น้ ามูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย

                                      หรือหายใจล าบาก และ/หรือมีประวัติไข้หรือวัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 37.5°C ขึ้นไป และมีประวัติในช่วง 14 วัน ก่อนวัน
                                      เริ่มป่วยอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

             แผนกเวชระเบียน/จุดคัดกรอง   1.1. มีประวัติเดินทางไปยัง หรือมาจาก หรืออยู่อาศัยในพื้นที่เกิดโรคของ COVID-19
              - คัดกรองประวัติผู้ป่วย   1.2. ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยว สถานที่แออัด หรือติดต่อกับคนจ านวนมาก

              - OPD หรือ ER            1.3. ไปในสถานที่ชุมชน หรือสถานที่ที่มีการรวมกลุ่มคน เช่น ตลาดนัด ห้างสรรพสินค้า สถานพยาบาล ขนส่ง
                                          สาธารณะ
                                       1.4. สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยัน หรือสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วยยืนยัน COVID-19 โดยไม่ได้ใส่
                                          อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่เหมาะสม
               เฝ้าระวังในโรงพยาบาล
                                   2.  ผู้ป่วยโรคปอดอักเสบที่ แพทย์ผู้ตรวจรักษาสงสัยว่าเป็น  COVID-19
                                   3.  เป็นบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ที่มีอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ไอ น้ ามูก
                                      เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจล าบาก และ/หรือมีประวัติไข้หรือวัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ 37.5°C
               Fever & ARI clinic     ขึ้นไป ที่แพทย์ผู้ตรวจรักษาสงสัยว่าเป็น  COVID-19


             แพทย์ซักประวัติ ตรวจร่างกาย   4.  พบผู้มีอาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเป็นกลุ่มก้อน  ตั้งแต่ 5 รายขึ้นไป ในสถานที่เดียวกัน ในช่วงสัปดาห์เดียวกัน
                                      โดยมีความเชื่อมโยงกันทางระบาดวิทยา

                                                                                  ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์


               1)  ให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย พักรอ ณ บริเวณที่จัดไว้ หรือให้รอฟังผลที่บ้านโดยให้ค าแนะน าการปฏิบัติตัว หากมีข้อบ่งชี้ในการรับไว้เป็นผู้ป่วยใน ให้อยู่ใน
                 ห้องแยกโรคเดี่ยว (single room หรือ isolation room) โดยไม่จ าเป็นต้องเป็น AIIR
               2)  บุคลากรสวม PPE ตามความเหมาะสม กรณีทั่วไปให้ใช้ droplet ร่วมกับ contact precautions [กาวน์ ถุงมือ หน้ากากอนามัย และกระจังกันหน้า
                 (face shield)] หากมีการท า aerosol generating procedure เช่น การเก็บตัวอย่าง nasopharyngeal swab ให้บุคลากรสวมชุดป้องกันแบบ
                                                                                                        #
                 airborne ร่วมกับ contact precautions [กาวน์ชนิดกันน้ า ถุงมือ หน้ากากชนิด N95 กระจังกันหน้า หรือแว่นป้องกันตา (goggle) และหมวกคลุมผม]
               3)  ถ้ามีข้อบ่งชี้ในการถ่ายภาพรังสีปอด (film chest) แนะน าให้เป็น portable x-ray
               4)  ตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน พิจารณาตามความเหมาะสม (ไม่จ าเป็นต้องใช้ designated receiving area ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานของห้องปฏิบัติการ)
               5)  การเก็บตัวอย่างส่งตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2
                  ก)  กรณีผู้ป่วยไม่มีอาการปอดอักเสบ เก็บ nasopharyngeal swab หรือ oropharyngeal swab ในหลอด UTM หรือ VTM (อย่างน้อย 2 มล.)
                     จ านวน 1 ชุด
                  ข)  กรณีผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบ และไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
                      o  เก็บเสมหะใส่ใน sterile container จ านวน 1 ขวด หรือ ใส่ในหลอด UTM หรือ VTM  จ านวน 1 ชุด
                      o  เด็กอายุ <5 ปี หรือผู้ที่ไม่สามารถเก็บเสมหะได้ ให้เก็บ nasopharyngeal swab หรือ oropharyngeal swab หรือ suction ใส่ในหลอด UTM
                        หรือ VTM  จ านวน 1 ชุด
                  ค)  กรณีผู้ป่วยมีอาการปอดอักเสบ และใส่ท่อช่วยหายใจ เก็บ tracheal suction ใส่ในหลอด UTM หรือ VTM จ านวน 1 หลอด

        8                  แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยใน (IPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
                                                                            #ในกรณีที่ท า swab ต่อเนื่อง ให้เปลี่ยนถุงมือทุกครั้งหลัง swab
                                                    ผลการตรวจหา SARS-CoV-2
                                                                             ผู้ป่วยแต่ละราย ให้พิจารณาเปลี่ยนกระจังหน้าถ้าเปื้อน


                       ไม่พบเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (1 ห้องปฏิบัติการ)           ตรวจพบเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
              1)  พิจารณาดูแลรักษาตามความเหมาะสม                     1)  รับไว้ในโรงพยาบาล ใน single isolation room หรือ cohort
              2)  สามารถรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการสัมผัสโรคชัดเจน (เสี่ยงสูง)   ward  (ที่มีเฉพาะผู้ป่วยยืนยัน) ที่ระยะห่างระหว่างเตียงอย่าง
                ให้พิจารณา home-quarantine ต่อจนครบ 14 วันหลังการสัมผัสโรค   น้อย 1 เมตร
              3)  ถ้ามีอาการรุนแรง ให้พิจารณารับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อการตรวจวินิจฉัย และรักษาตาม  2)  กรณีอาการรุนแรง หรือต้องท า aerosol generating
                ความเหมาะสม ให้ใช้ droplet precautions ระหว่างรอผลการวินิจฉัยสุดท้าย   procedure  ให้เข้า AIIR
              4)  กรณีอาการไม่ดีขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง พิจารณาส่งตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ซ้ า   3)  ให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสตามแนวทางการดูแลรักษา






                       แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส าหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข
                   โดย คณะท างานด้านการรักษาพยาบาลและการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ คณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่างๆ
                                        (คณะกรรมการก ากับดูแลรักษาโควิด-19)  ฉบับปรับปรุง วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13