Page 10 - มาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย
P. 10

4. กลุ่มสัตว์น�้าและผลิตภัณฑ์จากสัตว์น�้า  มีการส�ารวจพบว่ามีการปนเปื้อนของ

                   ยาปฏิชีวนะ เช่น Nitrofuran, Chloramphenicol, Oxytetracycline และ Oxolinic acid ในระดับสูง
                   ถึงร้อยละ 18.82 ของตัวอย่างที่สุ่มตรวจ นอกจากนั้นยังมีการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ในผลิตภัณฑ์
                   กุ้งกุลาด�า ปลาหมึกแช่แข็ง และสินค้าอาหารทะเลต่างๆ รวมทั้งผลิตภัณฑ์สัตว์น�้าอื่นๆ เช่น

                   ลูกชิ้นปลา เนื้อปลาแช่เย็น และแหนมปลา ยังมีการพบมีการปนเปื้อนของสารเคมีจ�าพวกบอแรกซ์
                   ซึ่งห้ามใช้ในอาหารอยู่เป็นจ�านวนมาก

                         5. กลุ่มผักและผลไม้ พบปัญหาการปนเปื้อนของสารเคมีที่ใช้ป้องกัน และก�าจัดศัตรูพืช
                   จากการส�ารวจตัวอย่างผักและผลไม้ในตลาดพบว่า พบสารเคมีตกค้างถึงร้อยละ 36 ในจ�านวนนี้

                   ร้อยละ 6 มีการตกค้างเกินกฎหมายก�าหนด มีการพบสารห้ามใช้ในอาหาร เช่น สีสังเคราะห์
                   สารกันรา และสารฟอกขาวในผักและผลไม้ร้อยละ 22.67 และยังมีการปนเปื้อนของโลหะหนัก

                   เช่น ตะกั่ว และแคดเมียม ในผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ร้อยละ 5 เป็นต้น
                         จากปัญหาการปนเปื้อนสารเคมีและจุลินทรีย์ในอาหารนั้น ก่อให้เกิดโรคต่างๆตามมา
                   โดยสถานการณ์โรคติดต่อทางอาหารและน�้า จากเชื้อจุลินทรีย์ จากการเฝ้าระวังโรค ปี 2552

                   ส�านักระบาดวิทยา กลุ่มโรคจากอาหารและน�้า ส�านักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค รายงานจ�านวน
                   ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 1.2 ล้านราย คิดเป็นอัตราป่วย 2,023.64 ต่อประชากรแสนคน

                   ในจ�านวนนี้เสียชีวิต 65 ราย ซึ่งเมื่อพิจารณาย้อนหลัง 10 ปี มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น นอกจากนี้
                   การปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์บางชนิดก็อาจก่ออันตรายถึงขั้นเสียชีวิตหรือพิการได้ เช่น กรณี
                   การเสียชีวิตและเจ็บป่วยจากพิษ Botulinum จากเชื้อ Clostidium botulinum ในหน่อไม้ปี๊บ

                   ที่มีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2540 และเกิดรุนแรงที่สุดที่จังหวัดน่าน ในปี 2549 ซึ่งส่งผลให้มี
                   ผู้เจ็บป่วย ถึง 163 ราย และนอกจากนั้น โรคที่พบจากการสารเคมีปนเปื้อนตกค้างในอาหารนั้น
                   มีทั้งโลหะหนักที่ปนเปื้อนอยู่ในสภาพแวดล้อมและสารเคมีที่ใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรหรืออาหาร

                   ที่น�ามาใช้โดยปราศจากความรู้ หรือเกิดจากการจงใจ ส่งผลให้อาหารไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค
                   สารเคมีบางส่วนจะถูกสะสมอยู่ในร่างกายก่อให้เกิดพิษในระยะยาว แต่บางส่วนอาจถูกเปลี่ยนแปลง
                   ในร่างกายท�าให้เป็นพิษอย่างเฉียบพลันได้  ตัวอย่างของพิษสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร เช่น พิษจาก

                   โลหะหนัก พิษจากสารเคมีป้องกันและก�าจัดศัตรูพืชพิษจากวัตถุเจือปนอาหาร ผลกระทบจาก
                   การปนเปื้อนสารเคมีและจุลินทรีย์ในอาหารนั้น ท�าให้เกิดผลเสียต่อร่างกายจนอาจถึงแก่ชีวิตได้

                   อีกทั้งรัฐบาลต้องเสียงบประมาณจ�านวนมากในการรักษาพยาบาลและแก้ไขปัญหา รวมทั้ง
                   ยังกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทั้งประเทศ
                         การเลือกบริโภคอาหารจึงเป็นสิ่งส�าคัญที่ส่งผลต่อการมีสุขภาพดี โดยปัจจุบันกระแส

                   การดูแลสุขภาพของประชาชนเริ่มมีมากขึ้น ท�าให้ผู้บริโภคหันมาใส่ใจในการเลือกซื้ออาหาร
                   ที่ปลอดภัยและปราศจากสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษต่อร่างกาย ด้วยเหตุนี้เกษตรกรหลายรายจึงคิด

                   หาวิธีการท�าเกษตรกรรมแนวใหม่ เรียกว่า เกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) เป็นทางเลือก


                                           มาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย (Food Safety Hospital)        9
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15