Page 26 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 26

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                            ๒) เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลายเนื่องจากการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน
               สร้างความพร้อมแก่แรงงานไทย ร่วมพัฒนาระบบ

                            ๓) จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลให้แก่เจ้าหน้าที่
               ของรัฐและประชาชน โดยใช้ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ
                          ข้อ ๕. กำรยกระดับคุณภำพบริกำรด้ำนสำธำรณสุข และสุขภำพของประชำชน
                            ๑) วางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากร ในทุกภาคส่วนทุกระบบ

               หลักประกันสุขภาพ
                            ๒) พัฒนาระบบบริการสุขภาพ โดยเน้นการป้องกันโรค ปรับระบบการจ้างงาน การกระจาย
               บุคลากร
                            ๓) เสริมความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคระบาด โดยเฉพาะโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ า

               โดยมีเครือข่าย
                            ๔) ป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุในการจราจรอันน าไปสู่ การบาดเจ็บและ
               เสียชีวิต
                            ๕) ประสานการท างานระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในสังคม โดยมีกฎหมายที่รัดกุม

                            ๖) พัฒนาขีดความสามารถในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาธารณสุข

                        ๔. นโยบำยรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุข

                        ศาสตราจารย์นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบาย ดังนี้
                          ๑) ให้ความส าคัญสูงสุดต่อการพัฒนางานสาธารณสุขตามแนวพระราชด าริและโครงการเฉลิม
               พระเกียรติเพื่อเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
                          ๒) บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพระหว่างส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
               และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้การดูแลสุขภาพคนไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพในทุกระดับและทุกมิติ

                          ๓) พัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อ
               สุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยให้คนไทยมีโอกาสได้ร่วมคิด ร่วมน า ร่วมท า
               และร่วมรับผิดชอบด้วย เป็นการอภิบาลแบบเครือข่าย เอื้ออ านวยระบบสุขภาพแห่งชาติ เชื่อมประสานทุก

               ภาคส่วนเข้าด้วยกัน
                          ๔) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับทั้งการบริหารการเงิน
               การคลัง การบริหารก าลังคน และการบริหารข้อมูลสุขภาพเพื่อสนับสนุนการปฏิรูปสาธารณสุขและปฏิรูป
               ประเทศ เพื่อให้พลเมืองไทยมีสุขภาพแข็งแรง

                          ๕) ให้ความส าคัญในการพัฒนาก าลังคนด้านสาธารณสุขทั้งความรู้ ทักษะ การผลิต การใช้ การสร้าง
               ขวัญก าลังใจภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน
                          ๖) วิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยให้มีคุณภาพครบวงจรและเกิดผลดี
               ต่อเศรษฐกิจไทย

                          ๗) เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานสาธารณสุข เพื่อ
               ประสิทธิผลที่ดีต่อสุขภาวะของประชาชน
                          ๘) สนับสนุนกลไกการท างานสาธารณสุขให้เป็นไปเพื่อส่งเสริมการสร้างความมั่นคงและความ
               ผาสุกของสังคมไทยและสังคมโลก







                                                                                                    หน้า 23
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31