Page 25 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 25

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


                                                        บทที่ ๓


                     ทิศทำงกำรพัฒนำของแผนยุทธศำสตร์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕


               ทิศทำงกำรพัฒนำกำรด ำเนินงำนของโรงพยำบำลตรำดตำมนโยบำย

                        ๑. แผนพัฒนำสุขภำพแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
                        การน ายุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพในแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
               ด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีแนวทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติที่ส าคัญ ดังนี้

                          ๑) ด าเนินการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ประชาคมสาธารณสุข องค์กร
               ภาคีสุขภาพ ตระหนักและเข้าใจในสาระส าคัญของแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
                          ๒) สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนฯ และนโยบายรัฐบาล เข้าสู่แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
               แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ แผนค าของบประมาณ และแผนระดับอื่นๆ เช่น แผนการลงทุน

               แผนพัฒนาระบบข้อมูล แผนการผลิตบุคลากร เป็นต้น โดยควรเริ่มจากแผนพัฒนาสุขภาพระดับต าบลที่
               ผู้บริหารทุกระดับได้ใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนา เป็นกรอบแนวทางด าเนินงานพัฒนาด้านสุขภาพของหน่วยงาน
               โดยการใช้เวทีต่างๆ ที่มีผู้บริหารองค์กรเข้าร่วม
                          ๓) จัดตั้งคณะกรรมการก ากับทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ เพื่อก ากับการด าเนินงาน

                          ๔) จัดท าระบบการรายงานการประเมินผลรอบระยะเวลาครึ่งเทอมและน าเสนอในเวทีที่
               เหมาะสม
                          ๕) จัดให้มีกลไกในการพัฒนายกร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒


                        ๒. แผนยุทธศำสตร์สุขภำพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๖๓
                        จากกรอบยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย จ าเป็นต้องมีการผลักดันขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
               ผ่านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้วยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนอย่างเป็นเอกภาพ

                          ๑) สร้างเจตจ านงทางการเมือง ให้กลไกทุกระดับต้องก าหนดนโยบายการด าเนินงาน
                          ๒) สร้างจิตส านึก ค่านิยม อุดมการณ์ ความรักและภาคภูมิใจในความเป็นไทย
                          ๓) สร้างศักยภาพของประชาชนและชุมชนบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                          ๔) แสวงหาความร่วมมือและเสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
                          ๕) จัดโครงสร้างองค์กร/กลไกการขับเคลื่อนในทุกระดับแบบบูรณาการ

                          ๖) สร้างการมีส่วนร่วมรับผิดชอบจัดให้มีระบบบริหารจัดการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจัง

                        ๓. นโยบำยของคณะรัฐมนตรี

                        นโยบายของคณะรัฐมนตรี แถลงโดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีสาระส าคัญ
               ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้
                          ข้อ ๓. กำรลดควำมเหลื่อมล้ ำของสังคม และกำรสร้ำงโอกำสกำรเข้ำถึงบริกำรของรัฐ
                            ๑) เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต และการมีงานหรือ

               กิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคม ในอนาคต โดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน
               สถานพักฟื้น และโรงพยาบาลความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว







                                                                                                    หน้า 22
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30