Page 101 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด พ.ศ.2561-2565
P. 101

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาลตราด (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)


               เกี่ยวข้องให้ทราบถึงบทบาทความรับผิดชอบของหน่วยงานที่จะสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์
               ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ

                              ๑.๒  ผลักดันระบบงบประมาณ และแสวงหางบประมาณเพื่อการรองรับความจำเป็นในการ
               ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์และการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับแนวทางของแผนงานและ
               โครงการในแต่ละยุทธศาสตร์ โดยเน้นผลลัพธ์ของการดำเนินงานเป็นหลัก
                              ๑.๓ ปรับวิธีการวางแผนเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพ และการบริหารจัดการในแต่ละระดับ

               และการจัดทำงบประมาณ โดยการกำหนดพื้นที่เป้าหมายร่วมกัน (Area/Function/Participation:  AFP)  ที่
               เน้นการมีส่วนร่วมและการได้รับประโยชน์ของการจัดการสุขภาพแก่ประชาชนที่มีคุณภาพเป็นหลัก
                              ๑.๔ ส่งเสริมให้กลุ่มภารกิจ กลุ่มงาน ฝ่าย หน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติการ ให้สอดคล้องกับ
               ยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงพยาบาล รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงและประเมินผลงานของตนเองตามแผนยุทธศาสตร์

               ที่กำหนดไว้ และนำไปสู่การพิจารณาการสนับสนุนทรัพยากรจากต้นสังกัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
                              ๑.๕ จัดให้มีการลงนามคำรับรองการปฏิบัติงาน เพื่อสร้างพันธะสัญญาทางยุทธศาสตร์ทั่วทั้ง
               องค์การ คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน ทั้งระบบ พร้อมทั้ง
               เชื่อมโยงผลงานตามแผนยุทธศาสตร์สู่การประเมินผลงานและอุดหนุนทรัพยากรจากโรงพยาบาลต่อไป

                              ๑.๖ มาตรการในการประชาสัมพันธ์ และสร้างบรรยากาศยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ผ่านสื่อ
               ภายในองค์กร ผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่กระตุ้นปลุกเร้า และขับเคลื่อนงานตามแผนยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
                       ๒. พัฒนากระบวนการจัดทำแผนงาน โครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในลักษณะบูรณาการ พร้อม

               กับมีการจัดลำดับความสำคัญ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประสานแผนไปสู่การปฏิบัติ
                              ๒.๑  สนับสนุนการจัดทำแผนงาน โครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในลักษณะบูรณาการ
               และประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในโรงพยาบาล ภาครัฐ เอกชน และชุมชนที่เกี่ยวข้องกับ
               ภารกิจและยุทธศาสตร์การพัฒนา
                              ๒.๒  ก าหนดขั้นตอนของกระบวนการด าเนินงานตามแผนงาน โครงการ ให้ชัดเจนมุ่งเน้นที่

               การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ (Paradigm Shift) แก่ผู้ปฏิบัติ มีการจัดล าดับความส าคัญของภารกิจและกิจกรรม
               ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ กับกระบวนการจัดสรรงบประมาณ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการด าเนินงาน
                              ๒.๓  การติดตาม ตรวจสอบ ผลที่ได้จากการด าเนินแผนงาน โครงการว่าสามารถตอบสนอง

               ต่อ  ยุทธศาสตร์การพัฒนา รวมทั้งสามารถติดตามและประเมินผลได้อย่างเป็นรูปธรรมด้วยเทคโนโลยี
               สารสนเทศ
                       ๓.  พัฒนาระบบและกลไกการติดตามประเมินผล รวมทั้งก าหนดดัชนีชี้วัดความส าเร็จของแผนงาน
               โครงการ ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาในแต่ละยุทธศาสตร์โดย

                              ๓.๑ ประสานการติดตามประเมินผลและตรวจสอบผลงาน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและเป็น
               เครือข่ายเชื่อมโยงกัน เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการประสานงานแผนงาน แผนคนและแผนเงินอย่างเป็นระบบ
                              ๓.๒ สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการติดตามประเมินผลแผนงาน โครงการ มีการ
               กำหนดตัวชี้วัดและระบบประเมินผลงานที่เน้นผลลัพธ์ของงานเป็นหลัก

                              ๓.๓  น าผลที่ได้จากการติดตามประเมินผลมาปรับปรุงแนวทางการจัดท าแผนงาน โครงการ
               เพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
                              ๓.๔ พัฒนาองค์ความรู้และเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องการติดตามประเมินผลและการก าหนด
               ดัชนีชี้วัด ได้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างทักษะในการติดตามประเมินผลและสามารถน ามาใช้ประโยชน์

               ร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม





                                                                                                    หน้า 82
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106