Page 4 - แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพ (Service Plan)
P. 4

แนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพ (Service Plan)              คำ�นิยม

 ระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
 (Integrated, People-centered Primary Care)   หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ถือเป็น “คานงัด” ระบบสุขภาพ

                  ที่จะท�าให้คนไทยมีสุขภาพดี ลดการเจ็บป่วยและลดความแออัดของผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาล
 ISBN : 978-616-11-4241-4
                  ขนาดใหญ่ และจะช่วยประหยัดทรัพยากรของประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้เจ็บป่วย การให้บริการ
 ที่ปรึกษา :      ดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิที่มีคุณภาพถือเป็นภารกิจส�าคัญของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
 นายแพทย์สุขุม  กาญจนพิมาย     ปลัดกระทรวงสาธารณสุข  เป็นการตอบสนองต่อเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 51 ที่ระบุถึง
 นายแพทย์ยงยศ  ธรรมวุฒิ      รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์)  สิทธิของคนไทย “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน”

 นายแพทย์ธีรพงศ์  ตุนาค      ผู้อ�านวยการกองบริหารการสาธารณสุข  และ“บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการบริการสาธารณสุขจากรัฐซึ่งต้องเป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
 นายแพทย์สุวัฒน์  วิริยะพงษ์สุกิจ    ผู้อ�านวยการส�านักสนับสนุนระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ  บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐอย่างเหมาะสมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
 นายแพทย์ประสิทธิ์ชัย  มั่งจิตร     ผู้อ�านวยการส�านักบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย  และทันต่อเหตุการณ์” โดยได้ผลักดันให้มี พ.ร.บ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 เพื่อให้มีการพัฒนา

 บรรณาธิการ :     อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

 แพทย์หญิงดวงดาว  ศรียากูล     กระทรวงสาธารณสุขได้ก�าหนดนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan) สาขาระบบ
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์บวรศม  ลีระพันธ์  บริการปฐมภูมิและสุขภาพอ�าเภอ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับหน่วยบริการระดับสูง เชื่อมโยงกับชุมชน
 นางเกวลิน  ชื่นเจริญสุข  และนโยบายการปฏิรูป เพื่อยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิให้มีคุณภาพเพิ่มสูงขึ้น โดยการเพิ่มบุคลากร
                  ด้านแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็น “หมอประจ�าตัว” และคณะผู้ให้บริการ ตาม พ.ร.บ. โดยการขึ้นทะเบียน
 ผู้ช่วยบรรณาธิการ :

 นางสมสินี  เกษมศิลป์  จัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและจัดให้แพทย์คู่กับคนไข้ เพื่อให้ครอบคลุมประชาชนคนไทยทุกคน ท�าหน้าที่
                  ในการดูแลให้ค�าปรึกษาด้านสุขภาพ ภายในระยะเวลา 10 ปี ซึ่งกลยุทธ์ส�าคัญของการยกระดับหน่วยบริการ
 นายอเสข  แก้วกันหา
                  หรือเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิให้มีคุณภาพ คือ การดูแลสุขภาพแบบบูรณาการที่มีประชาชน
 ผู้เรียบเรียง :  เป็นศูนย์กลาง
 แพทย์หญิงดวงดาว  ศรียากูล   แนวทางการด�าเนินงานฉบับนี้เป็นผลจากการพัฒนารูปแบบบริการ โดยความร่วมมือของกระทรวง

 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์บวรศม  ลีระพันธ์  สาธารณสุข คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และภาคีเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ
 แพทย์หญิงศิรินภา ศิริพร  ณ ราชสีมา  ในพื้นที่ โดยมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดกับประชาชนมากยิ่งขึ้น เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ
 นายแพทย์สันติ  ลาภเบญจกุล  และความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อเพิ่มความสามารถในการจัดการสุขภาพของตนเองได้อย่างเป็นรูปธรรม
 แพทย์หญิงสาวิตรี  ตันเจริญ  มีแนวทางการเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ชัดเจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ส�าหรับทีมสุขภาพ หน่วยงาน

 ดร.ชัยณรงค์  สังข์จ่าง  หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง  ในการน�าไปปรับใช้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย

 ภาพปก :          หน่วยบริการปฐมภูมิให้เกิดประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่เพื่อให้มีสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์บวรศม ลีระพันธ์

 จัดพิมพ์โดย  :  กองบริหารการสาธารณสุข ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 ปีทีี่พิมพ์ :   กุมภาพันธ์ 2563

 พิมพ์ที่ :      บริษัท บอร์น ทู บี พับลิชชิ่ง จ�ากัด                (นายแพทย์สุขุม  กาญจนพิมาย)
         53/1  หมู่ 7  ถนนสวนหลวงร่วมใจ  ต�าบลสวนหลวง อ�าเภอกระทุ่มแบน    ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
       จังหวัดสมุทรสาคร 74110

         โทรศัพท์ 0 2813 7378   โทรสาร 0 2813 7378
                                                                                                 ก
   1   2   3   4   5   6   7   8   9