Page 215 - รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563
P. 215

หมวด               ยุทธศาสตรดานบริการเปนเลิศ (Service excellence)
                 แผนที่             6.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan)

                 โครงการที่         18. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก

                 ระดับการแสดงผล  เขต/ประเทศ
                 ชื่อตัวชี้วัด      35.รอยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาล

                                    ตั้งแตระดับM1 ขึ้นไป ที่มีแพทยออรโธปดิกสเพิ่มขึ้น ใหไดอยางนอย

                                    1 ทีมตอ 1 เขตสุขภาพ
                 ชื่อตัวชี้วัดยอย   35.1  รอยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาล

                                          ตั้งแตระดับM1 ขึ้นไป ที่มีแพทยออรโธปดิกสเพิ่มขึ้น ใหไดอยางนอย

                                          1 ทีมตอ 1 เขตสุขภาพ

                                    35.2   การผาตัดภายใน 72 ชั่วโมง (Early surgery) > รอยละ 30 นับตั้งแต

                                          รับผูปวยเขารักษาในโรงพยาบาล
                                    35.3   Rate Refracture < รอยละ 25

                                          * (ตัวชี้วัดนี้ใชไดกรณีที่โรงพยาบาลนั้น ทําโครงการ มาแลว 1 ป)

                 คํานิยาม           ผูปวย Refracture Prevention คือ ผูปวยทั้งเพศชายและหญิง อายุตั้งแต 50 ปขึ้นไป
                                    ที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาลดวยภาวะกระดูกสะโพกหักจากภยันตรายชนิดไมรุนแรง

                                    (Fragility fracture) ทุกราย
                                    ภยันตรายชนิดไมรุนแรง (Fragility fracture) หมายถึง แรงกระทําจากการลม ใน

                                    ระดับที่นอยกวาหรือเทียบเทาความสูงขณะยืนของผูปวย (Equivalent to fall from

                                    height)
                                    ผูปวยที่มีกระดูกหักซ้ําภายหลังกระดูกสะโพกหัก (Refracture) หมายถึง ผูปวยที่มี

                                    ภาวะกระดูกหักในตําแหนงตอไปนี้ (กระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกขอมือ กระดูก
                                    ตนแขน กระดูกปลายตนขา กระดูกหนาแขงสวนตน กระดูกขอเทา) จากภยันตรายชนิด

                                    ไมรุนแรงภายหลังการรักษาภาวะกระดูกสะโพกหักภายใตโครงการ Refracture

                                    Prevention โดยนับตั้งแตวันหลังจากกระดูกสะโพกหัก และเขารับการรักษาเปนผูปวยใน
                                    โครงการ Refracture Prevention เปนตน

                                    การผาตัดแบบ Early surgery หมายถึง ผูปวย Refracture Prevention ที่ไดรับการ

                                    ผาตัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังเขารับการรักษาภายในโรงพยาบาลแบบผูปวยใน
                                    กระดูกสะโพกหัก หมายถึง ผูปวยที่ไดรับการใหรหัสการบาดเจ็บ ดวยรหัส

                                    1. Femoral neck  S72.0

                                    2. Intertrochanter S72.1
                                    3. Subtrochchanter S72.2













                                                            รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปจะจําปีงบประมาณ 2563 หน้า :: 196
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220