Page 213 - รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563
P. 213
ตัวอยางแบบบันทึก ตัวชี้วัดการดูแลผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง (รวมตัวชี้วัดยอย)
ปงบประมาณ 2561
ชื่อโรงพยาบาล............................................................. H code ............................................
ลําดับ ตัวชี้วัด ไตรมาสที่1 ไตรมาสที่2 ไตรมาสที่3 ไตรมาสที่4 รวม
(ต.ค– ธ.ค) (ม.ค–มี.ค) (เม.ย.– มิ.ย.) (ก.ค.–ก.ย.)
1 จานวนผูปวยทั้งหมด
2 จานวนผูปวยตายทั้งหมด
3 อัตราตาย
4 อัตราการไดรับ Antibiotic ภายใน 1
ชม.(นับจากเวลาที่ไดรับการวินิจฉัย)
5 อัตราการเจาะ H/C กอนให
Antibiotic
6 อัตราการไดรับ IV 30 ml/kg ใน 1
ชม.แรก(ในกรณีไมมีขอหาม)
7 อัตราที่ผูปวยไดรับการดูแลแบบภาวะ
วิกฤติ (ระดับ2-3)ภายใน 3 ชม.
หมายเหตุ :
1. นับเฉพาะผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired
2. ไมนับรวมผูปวย palliative care (รหัส Z 51.5)
นิยามการเก็บขอมูลตัวชี้วัดยอย
1. อัตราการเจาะ H/C กอนให Antibiotic หมายถึง การเจาะ H/C กอนให Antibiotic
สูตรคํานวณ = จํานวนผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงที่ไดรับ การเจาะ H/C กอนให Antibiotic X 100
จํานวนผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงทั้งหมด
หมายเหตุ ในกรณีที่เดิมผูปวยไดรับ Antibiotic อยูโดยไมไดเจาะ H/C ตอมาผูปวยเกิดภาวะติดเชื้อในกระแส
เลือดแบบรุนแรง แลวมีการเจาะ H/C รวมกับปรับ Antibiotic ใหถือวา มีการเจาะ H/C กอนให Antibiotic
2. อัตราการไดรับ Antibiotic ภายใน 1 ชม.หมายถึง การไดรับ Antibiotic ภายใน 1 ชม.หลังการวินิจฉัย โดย
นับจากเวลาวินิจฉัยจนถึงเวลาที่บริหารยา (Diagnosis to needle time)
สูตรคํานวณ = จํานวนผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงที่ไดรับ Antibiotic ภายใน 1 ชม. X 100
จํานวนผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงทั้งหมด
3. อัตราการไดรับ IV fluid 30 ml/kg ใน 1 ชม.แรก หมายถึง ผูปวยไดรับ IVfluid จํานวน 1.5 ลิตร ภายใน 1
ชม. แรกหลังวินิจฉัย
สูตรคํานวณ=จํานวนผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงที่ไดรับ IVfluid จํานวน 1.5 ลิตรภายใน 1 ชม. X
100
รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปจะจําปีงบประมาณ 2563 หน้า :: 194