Page 185 - รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563
P. 185

หมวด                    ยุทธศาสตรดานบริการเปนเลิศ (Service Excellence)

                แผนที่                  6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
                โครงการที่              15. โครงการการดูแลผูปวยระยะทายแบบประคับประคองและการดูแลผูปวย

                                        กึ่งเฉียบพลัน

                ระดับการวัดผล           เขตสุขภาพ
                ชื่อตัวชี้วัดเชิงปริมาณ     30. รอยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการตาง ๆ ดวย Opioid ใน

                                        ผูปวยประคับประคองระยะทายอยางมีคุณภาพ

                คํานิยาม                รอยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการตางๆ ดวย Opioid ในผูปวย
                                        ประคับประคองระยะทายอยางมีคุณภาพ คือ โรงพยาบาลมีการจัดการอาการปวด

                                        และ/หรือ อาการรบกวนในระยะทายของชีวิต เชน อาการหอบเหนื่อย สับสน ดวย

                                        Opioid ในผูปวย 4 กลุมโรค 3 กลุมอายุ (โรคไมติดตอและกลุมอายุ 0-14, 15-59,
                                        60 ขึ้นไป ตามที่องคการอนามัยโลกใหความสําคัญ) ที่ไดรับการวินิจฉัย

                                        ประคับประคองระยะทาย (Z51.5) เพื่อใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี จนถึงวาระ

                                        สุดทาย โดยโรงพยาบาลตองดําเนินการที่แสดงถึงคุณภาพการบริการ ดังนี้
                                        1. มีบุคลากรที่สามารถสั่งใชยา จายยา และบริหารยา Opioid ในการจัดการ

                                        อาการปวด และ/หรืออาการรบกวน ตามแนวทางการดูแลผูปวยแบบ
                                        ประคับประคองระยะทาย ดังนี้

                                             1.1. โรงพยาบาลทุกระดับ มีแพทยปฏิบัติงาน PC อยางนอย 1 คน

                                             1.2. โรงพยาบาลระดับ A, S มีพยาบาล PC ปฏิบัติงาน full time อยางนอย
                                        2 คน โรงพยาบาลระดับ M,F มีพยาบาล PC ปฏิบัติงาน part time อยางนอย 1

                                        คน
                                             1.3. โรงพยาบาลทุกระดับ มีเภสัชกรรวมทีมดูแลผูปวย PC อยางนอย 1 คน

                                             1.4. โรงพยาบาลทุกระดับมีการกาหนดโครงสรางการบริหารบุคลากรงาน PC

                                        ในรูปแบบคณะกรรมการ ศูนย งาน หรือกลุมงาน ที่สามารถดาเนินการไดคลองตัว
                                             1.5. โรงพยาบาลทุกระดับจัดใหมี PC Essential drugs list กลุม Opioid

                                        ตามคําแนะนําแนวทางการบริหารจัดการระบบยาในการดูแลผูปวย

                                        ประคับประคองระยะทายของหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
                                        2. มีระบบการวินิจฉัย (ICD-10 Z51.5) และการใหบริการ PC ทั้งผูปวยในและ

                                        ผูปวยนอก (รวมผูปวยที่ไมสามารถมา รพ. ไดซึ่งมีการเยี่ยมบานตอเนื่อง) ตาม
                                        แนวทางการดูแลผูปวยแบบประคับประคองระยะทาย กรมการแพทย คือ

                                             2.1 กลุมโรคมะเร็ง ICD-10 รหัส C00-C96 ระยะแพรกระจาย (แนวทางฯหนา

                                        10-18)










                                                            รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปจะจําปีงบประมาณ 2563 หน้า :: 166
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190