Page 5 - แนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
P. 5

ในขั้นตอนที่ 3 หากประเมินสัญญาณชีพเข้าข่ายอันตราย ให้ปรับระดับขึ้นไป 1 ระดับ เช่น หากประเมินเป็น
            ระดับ 3 ตรวจพบ SpO  90% ให้จัดผู้ป่วยเข้าในระดับ 2 เป็นต้น
                                2
































                             ตาราง แสดงสัญญาณชีพที่เข้าข่ายอันตราย (Danger Zone Vital signs)


            2. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงการแพร่เชื้อ และระดับการป้องกัน
               กลุ่มผู้ป่วยที่สามารถซักประวัติได้ พยาบาลคัดกรองสอบถามประวัติ 2 ข้อดังต่อไปนี้ ได้แก่

               1) ผู้ป่วยมีอาการที่เข้าได้กับเกณฑ์ผู้ป่วยต้องสงสัยติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 หรือไม่
                 (แนวทางล่าสุด ฉบับปรับปรุงวันที่ 1 พ.ค. 2563)
               2) ผู้ป่วยมีอาการระบบทางเดินหายใจ และมีแนวโน้มที่จะท�าหัตถการที่อาจก่อให้เกิดฝอยละอองและ

                 การใช้ high flow oxygen หรือไม่
                    ตัวอย่างกลุ่มหัตถการที่มีความเสี่ยงสูง            ตัวอย่างหัตถการที่มีความเสี่ยงต�่า

             - การกู้ชีพขั้นสูง (CPR)                         - การพ่นยาผ่าน MDI with spacer

             - การใส่ท่อช่วยหายใจ (ETT-Intubation)            - Close system tracheal suction
             - open system tracheal suction                   - Low flow oxygen therapy

             - การเก็บเสมหะ และการดูดเสมหะ
             - การท�าหัตถการที่ต้องใช้ high flow oxygen เช่น
              พ่นยาแบบ nebulizer, oxygen mask with bag,

              high flow nasal canula (HFNC), etc.

            โดยหากตอบ

                    “ใช่ ทั้งสองข้อ” ประเมินเป็นกลุ่มเสี่ยงมาก ให้ใช้การป้องกัน “ระดับความเสี่ยงสูงมาก”
                    “ใช่ ข้อใดข้อหนึ่ง” ประเมินเป็นกลุ่มเสี่ยงปานกลาง ให้ใช้การป้องกัน “ระดับความเสี่ยงปานกลาง”

                    “ไม่ใช่ ทั้งสองข้อ” ประเมินเป็นกลุ่มเสี่ยงน้อย ให้ใช้การป้องกัน “ระดับความเสี่ยงต�่า”




                                แนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19                  5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10