Page 246 - รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563
P. 246
วัตถุประสงค 1. พัฒนาระบบบริการฟนฟูสมรรถภาพและการดูแลตอเนื่องในผูปวย Stroke,
traumatic brain injury และ spinal cord injury ไปจนครบระยะเวลา 6 เดือน
2. สรางเครือขายบริการโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ
3. เพิ่มคุณภาพชีวิต ปองกันและลดความพิการของผูปวย
4. เพิ่มทักษะในการดูแลตนเองของผูปวยและญาติ พรอมเชื่อมโยงแผนการดูแลตอเนื่องสู
ที่บานและชุมชน
5. ลดความแออัด รพศ. รพท. / เพิ่มอัตราครองเตียง รพช.
ประชากรกลุมเปาหมาย ผูปวย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury รายใหมหรือกลับ
เปนซาทั้งหมดที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาลภายในจังหวัด
วิธีการจัดเก็บขอมูล จัดเก็บรวบรวมขอมูลโดยทีมนิเทศและตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขและกรมการ
แพทย
แหลงขอมูล โรงพยาบาลระดับ A S M1 M2 F1 F2 F3 ภายในจังหวัดที่เริ่มใหการรักษาและรับสงตอ
ผูปวย
รายการขอมูล ตัวชี้วัดหลัก รอยละของโรงพยาบาลพยาบาลระดับ M และ F ในจังหวัดที่ใหการ
บริบาลฟนสภาพระยะกลางแบบผูปวยใน (intermediate bed/ward)(ตัวชี้วัดระดับ
จังหวัด) (ความครอบคลุมในการใหบริบาลฟนสภาพระยะกลาง ของโรงพยาบาลในสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข ระดับจังหวัด)
A = โรงพยาบาลระดับ M และ F ในจังหวัด ที่ผานเกณฑใหบริการการดูแลระยะกลาง
แบบ ผูปวยใน (intermediate bed/ward) ตามภาคผนวก 1 และ 2
ภาคผนวก 1 เกณฑการบริบาลฟนสภาพระยะกลางแบบ IPD (IPD-IMC protocol) สา
หรับโรงพยาบาลระดับ M และ F
ภาคผนวก 2 IPD care protocol ที่ประกอบดวย 1) Problem list & plan, 2)
Standing doctor order sheet, 3) Team meeting report และ 4) Activities
protocol (short stay)
B = โรงพยาบาลระดับ M และ F ทั้งหมดในจังหวัด
หมายเหตุ
* โรงพยาบาลระดับ A และ S ควรมีบทบาทเปนผูคัดกรอง สงตอและติดตามขอมูลผูปวย
รวมทั้งการสนับสนุนทางดานวิชาการและการรับปรึกษา
* การใหบริการ intermediate ward ไดในโรงพยาบาลทุกระดับที่สังกัดกระทรวง
สาธารณสุข ขึ้นกับความพรอมและบริบทของพื้นที่ในแตละจังหวัดและเขตสุขภาพ
ตัวชี้วัดรอง เปาหมาย ผูปวย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord
Injury ที่รอดชีวิตและมีคะแนน Barthel index <15 รวมทั้งคะแนน Barthel index
รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปจะจําปีงบประมาณ 2563 หน้า :: 227