Page 174 - รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2563
P. 174
หมวด ยุทธศาสตรดานบริการเปนเลิศ (Service Excellence)
แผนที่ 6. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โครงการที่ 12. โครงการปองกันและควบคุมการดื้อยาตานจุลชีพและการใชยาอยางสมเหตุสมผล
ระดับการแสดงผล จังหวัด/เขต/ประเทศ
ชื่อตัวชี้วัด 27. รอยละของโรงพยาบาลมีระบบจัดการการดื้อยาตานจุลชีพอยางบูรณาการ (AMR)
ตัวชี้วัดยอย รอยละการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลง
คํานิยาม การปองกันและควบคุมการดื้อยาตานจุลชีพ (AMR)
1. โรงพยาบาลที่มีการจัดการการดื้อยาตานจุลชีพอยางบูรณาการ เปนการประเมินระบบ
ของโรงพยาบาล โดยการใชแบบประเมินตนเอง (self assessment) และรายงานผลการ
ดําเนินงานของทั้ง 5 กิจกรรมสําคัญ ผานระบบรายงานกองบริหารการสาธารณสุข ปละ
2 ครั้ง ผานทาง http://203.157.3.54/hssd1/
1. กลไกการจัดการ AMR อยางบูรณาการ
2. การเฝาระวังทางหองปฏิบัติการ
3. การควบคุมกํากับดูแลการใชยาในโรงพยาบาล
4. การเฝาระวัง ปองกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
5. การวิเคราะหสถานการณปญหา และระบบจัดการ AMR ของโรงพยาบาล และนําไปสู
มาตรการของโรงพยาบาลในการแกปญหา AMR อยางบูรณาการ
2. อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด หมายถึงอัตราสวนผูปวยพบเชื้อแบคทีเรียดื้อยาใน
กระแสเลือดตอผูปวยที่พบเชื้อแบคทีเรีย 8 ชนิดในกระแสเลือด รายละเอียดการดื้อยา
ดังนี้
1. Acinetobacter baumannii ดื้อตอยา Carbapenem หรือ Colistin
2. Pseudomonas aeruginosa ดื้อตอยา Antipseudomonal penicillin
(Piperacillin + Tazobactam) หรือ Carbapenem หรือ Colistin
3. Klebsiella pneumonia ดื้อตอยา Extended-Spectrum Cephalosporin
(Ceftriaxone or Cefotaxime) หรือ Carbapenem (CRE) หรือ Colistin
4. Staphylococcus aureus ที่ดื้อตอยา Methicillin (MRSA) หรือ Vancomycin
(VISA and VRSA)
5. Escherichia coli ดื้อตอยา Colistin หรือ Carbapenem(CRE) หรือ
Fluoroquinolone (Ciprofloxacin) หรือ Extended-Spectrum Cephalosporin
(Ceftriaxone or Cefotaxime)
รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปจะจําปีงบประมาณ 2563 หน้า :: 155